Page 140 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 140

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ป็ีที� ๔๘ ฉบับที� ๒ พิฤษภาคม-สีิงหาคม ๒๕๖๖

               128      ความเป็็นไป็ได้้ในการนำกลัับทองจากน้�าเสีียจากอุตสีาหกรรมผลัิตแผงวงจรพิิมพิ์ด้้วยตัวเร่งป็ฏิิกิริยาเชิิงแสีงไทเทเนียมได้ออกไซด้์ด้ำ



              ๑. บทนำ

                      จากการการเป็ิดตัวเทค้โนํ้โลิยี 5G การขยายตลิาดขอุงรถ่ยนํ้ต์อุัจฉริยะ รวมถ่ึงค้วามต้อุงการการใช้
              อุุป็กรณ์อุิเลิ็กทรอุนํ้ิกสี์แบบพิกพิา เช่นํ้ ค้อุมพิิวเตอุร์ แท็บเลิ็ต (tablet) หรือุโทรศึัพิท์เค้ลิื�อุนํ้ที� ทำให้อุุตสีาหกรรม

              อุิเลิ็กทรอุนํ้ิกสี์ขอุงป็ระเทศึไทยมีอุัตราการเติบโตอุย่างมากในํ้ช่วง ๒-๓ ป็ีที�ผ่านํ้มา (Yongpisanphob, 2021)
              กระบวนํ้การชุบทอุง (gold plating) เป็็นํ้กระบวนํ้การที�สีำค้ัญในํ้การผลิิตแผงวงจรพิิมพิ์ (printed circuit

              boards, PCBs) ซึ�งเป็็นํ้ชิ�นํ้สี่วนํ้สีำค้ัญในํ้การผลิิตแผงวงจรอุิเลิ็กทรอุนํ้ิกสี์ เนํ้ื�อุงจากทอุงมีสีภาพิการนํ้ำกระแสี
              ไฟฟ้าสีูง ค้วามนํ้่าเชื�อุถ่ือุสีูง แลิะมีค้วามต้านํ้ทานํ้การกัดกร่อุนํ้สีูงในํ้ภาวะที�ทำงานํ้ (Kato & Okinaka, 2004)

              กระบวนํ้การชุบทอุงสีามารถ่ดำเนํ้ินํ้การได้ทั�งการชุบแบบใช้ไซยาไนํ้ด์ (cyanide-based plating) แลิะการชุบ
              แบบไม่ใช้ไซยาไนํ้ด์ (non-cyanide based plating) (Kato & Okinaka, 2004) ซึ�งกระบวนํ้การชุบทั�งสีอุง

              ป็ระเภทมีการป็ลิดป็ลิ่อุยนํ้้�าเสีียที�มีการตกค้้างขอุงไอุอุอุนํ้ขอุงทอุงในํ้ป็ริมาณมาก แม้ว่าผู้ป็ระกอุบการได้ใช้
              ค้วามพิยายามในํ้การนํ้ำกลิับทอุงที�ตกค้้างในํ้นํ้้�าเสีียด้วยกระบวนํ้การต่าง ๆ เช่นํ้ การแยกสีลิายด้วยไฟฟ้า

              (electrolysis) หรือุกระบวนํ้การแลิกเป็ลิี�ยนํ้ไอุอุอุนํ้ (ion exchange processes) แต่กระบวนํ้การดังกลิ่าวมี
              ราค้าสีูง แลิะไม่สีามารถ่นํ้ำกลิับทอุงได้อุย่างสีมบูรณ์ ป็ัจจุบันํ้จึงมีการพิัฒนํ้ากระบวนํ้การต่าง ๆ เพิื�อุการนํ้ำกลิับ

              ทอุงจากนํ้้�าเสีียดังกลิ่าว เช่นํ้ กระบวนํ้การตกตะกอุนํ้ (precipitation) การสีกัดด้วยตัวทำลิะลิาย (solvent
              extraction) หรือุกระบวนํ้การดูดซับ (adsorption) (Rakhila et al., 2019)

                     กระบวนํ้การเร่งป็ฏิิกิริยาด้วยแสีง (photolysis) เป็็นํ้อุีกกระบวนํ้การที�ได้รับค้วามสีนํ้ใจในํ้การนํ้ำกลิับ
              โลิหะจากนํ้้�าเสีีย เนํ้ื�อุงจากกระบวนํ้การนํ้ี�เป็็นํ้กระบวนํ้การที�เป็็นํ้มิตรต่อุสีิ�งแวดลิ้อุม ต้นํ้ทุนํ้การดำเนํ้ินํ้งานํ้ต�ำ

              แลิะทำงานํ้ได้ที�อุุณหภูมิแลิะค้วามดันํ้บรรยากาศึ (Fajrina & Tahir, 2019; Jalalah et al., 2013) หลิักการ
              ทำงานํ้ขอุงกระบวนํ้การเร่งป็ฏิิกิริยาด้วยแสีง ค้ือุ เมื�อุตัวเร่งป็ฏิิกิริยาเชิงแสีง (photocatalyst, S) ได้รับแสีง

              ที�มีพิลิังงานํ้โฟตอุนํ้ (photon) สีูงกว่าหรือุเท่ากับแถ่บช่อุงว่างพิลิังงานํ้ (band gap energy หรือุ E ) ขอุง
                                                                                                  bg
              ตัวเร่งป็ฏิิกิริยาเชิงแสีงนํ้ั�นํ้ อุิเลิ็กตรอุนํ้จากสีถ่านํ้ะพิื�นํ้หรือุแถ่บเวเลินํ้ซ์ (valence band) จะรับพิลิังงานํ้แลิะ

              เค้ลิื�อุนํ้ที�ไป็อุยู่ที�สีถ่านํ้ะกระตุ้นํ้หรือุแถ่บนํ้ำ (conduction band) ทำให้เกิดโฮลิ (hole หรือุ h ) ดังป็ฏิิกิริยา
                                                                                             +
              (R1) ในํ้กรณีที�นํ้้�าเสีียมีทอุงในํ้รูป็ขอุงสีารป็ระกอุบเชิงซ้อุนํ้ทอุงไซยาไนํ้ด์ (gold-cyanide complexes)

              การนํ้ำกลิับทอุงจะเกิดขึ�นํ้ตามป็ฏิิกิริยา (R2) โดยทอุงจะรับอุิเลิ็กตรอุนํ้ที�แถ่บนํ้ำพิลิังงานํ้แลิะพิอุกพิูนํ้บนํ้พิื�นํ้ผิว
                                            -
              ขอุงตัวเร่งป็ฏิิกิริยาเชิงแสีง สี่วนํ้ CN ที�เกิดขึ�นํ้จะทำป็ฏิิกิริยาต่อุเนํ้ื�อุงกับหมู่ไฮดรอุกไซด์ (-OH) แลิะโฮลิที�แถ่บ
                                                                                           -
                                              -
              เวเลินํ้ซ์เกิดเป็็นํ้ไซยาเนํ้ตไอุอุอุนํ้ (OCN) ดังป็ฏิิกิริยา (R3) (van Grieken et al., 2005b)



                                            S            →            h  +  + e -                    (R1)

                                      [Au(CN) ] + e      →            Au + 2CN                       (R2)
                                                   -
                                                                               -
                                              -
                                             2
                                                                           -
                                        -
                                    2CN + 4OH + 4h   →                2OCN + 2H O                    (R3)
                                               -
                                                    +
                                                                                 2
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145