Page 41 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 41

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีที� ๔๙ ฉบัับัที� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    ศาสตราจารย์์ ดร.สาวิิตรี  ลิ่ิ�มทอง                                                   31



                          ต์ารางที� ๑ ต์ัวอยี่างยีีสต์์ที�มัีความัสามัารถ่ในการหมัักผลิต์เอทานอล


                         ยีีสต์์หมัักผลิต์เอทานอล                         เอกสารอ้างอิง
                   Saccharomyces cerevisiae       Bangrak et al. (2011); Chang et al. (2018); Lee et al. (2013);
                                                  Pattanakittivorakul et al. (2019)
                   Kluyveromyces marxianus        Baptista and Domingues (2022); Karim et al. (2020);
                                                  Lertwattanasakul et al. (2011); Limtong et al. (2007); Malairuang
                                                  et al. (2020); Pattanakittivorakul et al. (2022)
                   Candida tropicalis             Mahakuntha et al. (2021); Pongcharoen and Miyuki (2018); Ra et al.
                                                  (2015)
                   Kluyveromyces dobzhanskii      Farooq et al. (2008)

                   Lachancea fermentati           Bellut et al. (2020); Canonico et al. (2022)
                   Lachancea thermotolerans       Hranilovic et al. (2018); Domizio et al. (2016)

                   Meyerozyma caribbica           Hawaz et al. (2023)
                   Pachysolen tannophilus         Cuevas et al. (2020); Cha et al. (2015)

                   Pichia kudriavzevii            Chamnipa et al. (2018); Koutinas et al. (2016); Yuangsaard et al.
                                                  (2013)

                   Scheffersomyces stipitis       Farooq et al. (2008); Krahulec et al. (2012)
                   Schizosaccharomyces pombe      Choi et al. (2010); Loira et al. (2018)

                   Wickerhamomyces anomalus       Farooq et al. (2008); Joshi et al. (2019); Sehnem et al. (2020)


                         ยีีสต์์ที�นิยีมัใช่้ในการผลิต์เอทานอลในอุต์สาหกรรมัการผลิต์เอทานอลทั�วโลกส่วนใหญ่ คือ S. cerevisiae
                  (Hoang and Nghiem, 2021; Kosaka et al., 2018; Reis et al., 2017)

                         S. cerevisiae เป็็นยีีสต์์ที�มัีป็ระสิทธิภาพสูงในการหมัักผลิต์เอทานอลและใช่้ในอุต์สาหกรรมัการผลิต์
                  เอทานอล มัีทั�งสายีพันธุ์ที�ช่อบอุณหภูมัิป็านกลาง (mesophilic strain) และสายีพันธุ์ทนอุณหภูมัิสูงหรือ

                  สายีพันธุ์ทนร้อน (thermotolerant strain) ลักษณะที�สำคัญของยีีสต์์ช่นิดนี� คือ ผลิต์เอทานอลความัเข้มัข้นสูง
                  ทนเอทานอล มัีอัต์ราการเจุริญ (growth rate) สูง สายีพันธุ์ที�ช่อบอุณหภูมัิป็านกลางมัีอุณภูมัิที�เหมัาะสมั

                  สำหรับการเจุริญ ๒๕-๓๐ องศาเซลเซียีส ส่วนสายีพันธุ์ทนร้อนมัีอุณหภูมัิเหมัาะสมัสำหรับการเจุริญสูงกว่านี�
                  หมัักผลิต์เอทานอลได้ที�อุณหภูมัิ ๓๐-๓๕ องศาเซลเซียีส และสายีพันธุ์ทนร้อนยีังคงหมัักได้ที� ๔๐ องศาเซลเซียีส

                  สามัารถ่ใช่้กลูโคสได้อยี่างดี ทนพีเอช่ช่่วงกว้าง ทนสารยีับยีั�งที�เกิดจุากการหมััก เช่่น กรดแอซีต์ิก กรดแล็กต์ิก
                  กรดซักซินิก ทนสารยีับยีั�งที�เกิดจุากการป็รับสภาพ (pretreatment) ของช่ีวมัวลลิกโนเซลลูโลส (lignocellulosic

                  biomass) ป็ระกอบด้วยี (๑) กรดอ่อน ได้แก่ กรดแอซีต์ิก กรดฟอร์มัิก และกรดลีวูลินิก (levulinic acid)
                  (๒) อนุพันธ์จุากฟิวราน (furan derivative) ได้แก่ เฟอร์ฟิวรัล และ ไฮดร็อกซีเมัทิลเฟอร์ฟิวรัล (hydroxy-methyl

                  furfural) และ (๓) สารป็ระกอบฟีนอล (phenolic compound) ได้แก่ (cumeric acid) ไสริงกัลดีไฮด์
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46