Page 22 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 22

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีีที่ี� ๔๘ ฉบับที่ี� ๒ พฤษภาค์ม-สิงหาค์ม ๒๕๖๖

               10                   กระบวนการสร้างสรรค์์รำถวายพระพรสมเด็็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ิ� พระบรมราชิินีนาถ พระบรมราชิชินนีพันปีีหลวง



                      การบรรจุเพลงที่ใช้ประกอบการแสด้ง เป็นการกำหนด้เพลงที่ใช้ในการแสด้งซึ่ึ่งมีอยู่ ๒ ประเภท

              คือ ๑) การบรรจุเพลงสำหรับบรรเลง ๒) การบรรจุเพลงขับร้องในบทประพันธ์ ถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง
              ผู้บรรจุเพลงจึงต้องมีความรู้เรื่องการบรรเลงด้นตรีไทยเป็นอย่างด้ี

                      การบรรจุเพลงสำหรับบรรเลง ประกอบด้้วย เพลงออก เพลงรับ เพลงเข้า (เพลงจบ)
                      -  เพลงออก เป็นเพลงบรรเลงในการเด้ินทางมาหรือให้ผู้แสด้งเคลื่อนออกมาอยู่กลางเวที เช่น

              เพลงโคมเวียน เพลงเหาะ (เทวด้า นางฟ้้า) เพลงรัวด้ึกด้ำบรรพ์ เพลงมหาชัย เพลงสรภัญญะ เพลงระบำ
              เชียงแสนใน บทขับร้องรำสี่ภาคถวายพระพร นอกจากนี� ยังปรากฏิออกภาษัาพม่าและมอญ ในบทขับร้อง

              รำถวายพระพร “ทศทิศพิพิธพร” ออกด้้วยเพลงต้นระบำทวารวด้ี และออกภาษัาพม่าด้้วยเพลงรัวพม่า
                      -  เพลงรับ เป็นเพลงบรรเลงรับตามบทร้อง เช่น เพลงสรภัญญะ และเวสสุกรรม เพลงลำปางใหญ่

              เพลงชาตรีตะลุง เพลงวรเชษัฐ์์ และฟ้้อนภูไท เพลงมหาฤกษั์ เพลงมหาชัย เพลงพม่าเห่ และเพลงมะตะแบ
                      -  เพลงเข้า (เพลงจบ) เป็นเพลงหน้าพาทย์ที่ให้ความเป็นสิริมงคลหรือเพื่อให้ผู้แสด้งเคลื่อนตัว

              เข้าเวที เช่น เพลงตระนิมิต เพลงตระบองกัน เพลงชำนาญ เพลงโปรยข้าวตอก เพลงรัวด้ึกด้ำบรรพ์
              เพลงท้ายระบำนพรัตน์ เพลงเสมอมอญ เพลงเสมอพม่า เพลงลาวต่อนก

                      การบรรจุเพลงขับร้องในบทประพันธ์ เพลงแรกจะเป็นเพลงประเภทหน้าทับปรกไก่ และเพลงลำด้ับ
              ต่อมาจะใช้เพลงประเภทหน้าทับสองไม้ ที่สำคัญจะคัด้เพลงที่มีชื่อให้ความหมายอันเป็นสิริมงคล

                      -  เพลงลำด้ับแรกใช้เพลงประเภทหน้าทับปรบไก่ (เพลงช้า อัตรา ๒ ชั�น) เช่น เพลงมหาชัย
              เพลงนกกระจอกทอง เพลงเทวาประสิทธิ� เพลงครอบจักรวาล เพลงจำปาทองเทศ เพลงขึ�นพลับพลา

                      -  เพลงลำด้ับต่อมาใช้เพลงประเภทหน้าทับสองไม้ (เพลงเร็ว อัตราชั�นเด้ียว) เช่น เพลงมหากาล
              เพลงเวสสุกรรม เพลงกล่อมพญา เพลงสะสม เพลงแขกบรเทศ เพลงกล่อมพญา เพลงแขกต่อยหม้อ

                      ๓. การคัด้เลือกผู้แสด้ง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคัด้เลือกผู้แสด้งที่มีหน้าตาสวยงาม ผ่านการฝึกหัด้
              นาฏิศิลป์ไทยขั�นพื�นฐ์านและขั�นสูงมาเป็นอย่างด้ี มีประสบการณ์การแสด้ง และที่สำคัญคือมีความจงรักภักด้ี

              ต่อสถาบันพระมหากษััตริย์ มีความตั�งใจถวายงานอย่างสุด้ความสามารถ การรำถวายพระพรอยู่ในรูปแบบ
              ของระบำซึ่ึ่งใช้ผู้แสด้งเป็นจำนวนมาก ความสำคัญของผู้แสด้งในเรื่องระด้ับความสูงจึงมีความจำเป็น เมื่อเรียง

              ลำด้ับผู้แสด้งจากแถวหน้าไปถึงแถวหลัง ควรให้มีความสูงที่ไล่เลี่ยกันหรือมากกว่าเล็กน้อย ไม่สูงโด้ด้จนดู้
              ไม่งาม การรำถวายพระพรจะมีการกำหนด้จำนวนผู้แสด้งไว้อย่างชัด้เจน โด้ยคำนึงถึงบริบทที่สำคัญตามวาระ

              และโอกาส เช่น
                         โอกาสเฉลิมพระชนมพรรษัา ๕ รอบ ผู้แสด้งรำถวายพระพร ๕ คู่

                         วันเฉลิมพระชนมพรรษัาวันที่ ๑๒ ผู้แสด้งรำถวายพระพร ๑๒ คน (๖ คู่)
                         โอกาสเฉลิมพระชนมพรรษัา ๖ รอบ ผู้แสด้งรำถวายพระพร ๖ คู่

                         เด้ือนเฉลิมพระชนมพรรษัา เด้ือน ๘ ผู้แสด้งรำถวายพระพร ๘ คู่
                         เลขมงคล คือเลข ๙ ผู้แสด้งรำถวายพระพร ๙ คู่

                         ฯลฯ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27