Page 6 - พจนานุกรมศัพท์การหล่อโลหะ
P. 6

คำาชี้แจง

                                      --------------------


          ๑. ความเป็นมา

                คณะกรรมก�รจัดทำ�พจน�นุกรมศัพท์วิศวกรรมอุตส�หก�ร ได้พิจ�รณ�

          แล้วเห็นว่� ก�รจัดทำ�พจน�นุกรมที่ได้รวบรวมศัพท์เป็นชุดเฉพ�ะกลุ่มคำ�ทำ�ให้
          เผยแพร่ได้ตรงกับคว�มต้องก�รของผู้ใช้หนังสือ จึงได้เสนอให้สำ�นักง�น
          ร�ชบัณฑิตยสภ�จัดพิมพ์หนังสือพจน�นุกรมศัพท์ก�รเชื่อม เผยแพร่ครั้งแรก

          เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ และได้จัดพิมพ์ครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ จ�กนั้นได้พิจ�รณ�
          เห็นว่�อุตส�หกรรมหล่อโลหะเป็นอุตส�หกรรมที่มีคว�มสำ�คัญและเชื่อมโยงกับ

          อุตส�หกรรมก�รผลิตอื่น ๆ ดังนั้นองค์คว�มรู้ด้�นก�รหล่อโลหะจึงมีคว�ม
          น่�สนใจและเป็นประโยชน์อย่�งยิ่งในแวดวงวิช�ก�รและก�รศึกษ� คณะกรรมก�ร
          จัดทำ�พจน�นุกรมศัพท์วิศวกรรมอุตส�หก�รจึงเห็นสมควรให้จัดทำ�พจน�นุกรม

          ศัพท์ก�รหล่อโลหะ ฉบับร�ชบัณฑิตยสภ� ในรูปแบบอีบุ๊ก (e-book) เพื่อคว�ม
          สะดวกในก�รสืบค้นข้อมูลของอ�จ�รย์ นักเรียน นักศึกษ� และผู้สนใจทั่วไป อีก
          ทั้งยังเป็นประโยชน์ในก�รศึกษ� ค้นคว้� อ้�งอิง ต่อไปได้

                ก�รจัดทำ�พจน�นุกรมศัพท์ก�รหล่อโลหะฉบับนี้ คณะกรรมก�รจัดทำ�ศัพท์
          วิศวกรรมอุตส�หก�รได้ดำ�เนินก�รแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๓ ร�ยน�มคณะ
          กรรมก�รที่ร่วมดำ�เนินก�ร ประกอบด้วย

                ๑.  ศ�สตร�จ�รย์กิตติคุณ ดร.สมศักดิ์  ดำ�รงค์เลิศ   ประธ�นกรรมก�ร
                  (พ.ศ. ๒๕๔๙-ปัจจุบัน)

                ๒.  น�ยเษก  ทองอุ่น                              กรรมก�ร
                  (พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๔)
                ๓.  น�ยพยูร  เกตุกร�ย                            กรรมก�ร

                     (พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๖๓)

          (4)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11