Page 59 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 59
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗
ศาสตราจารย์์ ดร.วััลลภ สุระกำพลธร 49
พัฒนาอ้กจุํานวนมัากท้�ยังจุำเป็็นต้องด้ำเนินการเพ่�อศัึกษาถุึงหลัักการพ่�นฐานของการสื่่�อสื่ารแบบสื่ะท้อนกลัับ
(reflected-power communication) แลัะควรมั้การสื่ํารวจุคิด้ค้นถุึงป็ระโยชี้น์แลัะการป็ระยุกต์ใชี้้”
(Stockman, 1948). คำกลั่าวน้�เป็็นการเน้นย�ำถุึงการใชี้้คลั่�นวิทยุในการสื่่�อสื่ารกันระหว่างจุุด้ถุึงจุุด้ (point-
to-point) อย่างไรก็ตามั ในชี้่วงเวลัานั�นอุป็กรณ์์อิเลั็กทรอนิกสื่์ยังมั้ขนาด้ใหญ่เป็็นแบบหลัอด้สืุ่ญญากาศั (vacuum
tube) อุป็กรณ์์อิเลั็กทรอนิกสื่์ขนาด้เลั็กเชี้่นทรานซึ่ิสื่เตอร์เพิ�งถุ้กคิด้ค้นแลัะมั้จุำหน่ายในเชี้ิงอุตสื่าหกรรมัใน
ราว ค.ศั. ๑๙๕๑ แลัะวงจุรสื่ามัารถุสื่ร้างได้้บนสื่ารกึ�งตัวนำชี้ิ�นเด้้ยวกัน (monolithic integrated circuit)
หร่อไอซึ่้ ใน ค.ศั. ๑๙๕๙ จุึงทำให้ยังไมั่มั้งานวิจุัยมัากนักในชี้่วงเวลัาเก่อบ ๒๐ ป็ีหลัังจุากบทความัของ
สื่ต็อกแมัน สื่่วนใหญ่เป็็นการนำไป็ป็ระยุกต์เพ่�อให้เกิด้ความัป็ลัอด้ภัยในการทำงานในเหมั่องแร่ การทำงานใน
แหลั่งจุ่ายแก๊สื่แลัะนิวเคลั้ยร์
เทคโนโลัย้อาร์เอฟไอด้้ถุ้กพัฒนาขึ�นใชี้้เชี้ิงพาณ์ิชี้ย์ในราว ค.ศั. ๑๙๖๐ โด้ยมั้หลัายบริษัทพัฒนาระบบ
การเฝั้าระวังการขโมัยสื่ินค้าท้�เร้ยกว่า การสื่อด้สื่่องสื่ินค้าแบบอิเลั็กทรอนิกสื่์ (electronic article surveillance
หร่อ EAS) โด้ยใชี้้ป็้ายระบุแพสื่ซึ่ิฟขนาด้ ๑ บิต โด้ยสื่ินค้าจุะถุ้กติด้ป็้ายระบุไว้แลัะมั้เสื่าสื่ัญญาณ์ท้�ทำสื่่งคลั่�นวิทยุ
ออกมัาเพ่�อตรวจุสื่อบ ซึ่ึ�งเป็็นการตรวจุสื่อบว่ามั้ป็้ายหร่อไมั่มั้ป็้าย ป็้ายระบุจุะสื่่งคลั่�นวิทยุกลัับมัาท้�เสื่าสื่ัญญาณ์
ถุ้าหากยังไมั่ได้้จุ่ายค่าสื่ินค้า อาจุกลั่าวได้้ว่าระบบ EAS เป็็นการใชี้้ RFID เชี้ิงพาณ์ิชี้ย์ครั�งแรกแลัะยังมั้การใชี้้ท้�
แพร่หลัาย เชี้่น การป็้องกันการขโมัยหนังสื่่อในห้องสื่มัุด้ หร่อในห้างสื่รรพสื่ินค้า
ใน ค.ศั. ๑๙๗๓ มัาริโอ ด้ับเบิลัย้. คาร์ดุ้ลัลัา (Mario W. Cardulla) ได้้รับสื่ิทธิบัตรในการป็ระด้ิษฐ์
อุป็กรณ์์ป็้ายระบุแบบแอ็กทิฟ (active RFID tag) แบบท้�หน่วยความัจุำสื่ามัารถุเข้ยนทับได้้ แลัะ ชี้าร์ลัสื่์ วอลัตัน
(Charles Walton) ได้้ออกแบบระบบคลั้ายอาร์เอฟไอด้้ท้�พกพาได้้ใน ค.ศั. ๑๙๗๓ แลัะรับสื่ิทธิบัตรในการ
คิด้ค้นป็้ายระบุแพสื่ซึ่ิฟ (passive RFID tag) แลัะเป็็นคนแรกท้�ใชี้้คำย่อว่า RFID ใน ค.ศั. ๑๙๘๐ มั้การใชี้้
เทคโนโลัย้อาร์เอฟไอด้้ ในการตรวจุติด้ตามัสื่ัตว์เลั้�ยง (animal tracking) แลัะใน ค.ศั. ๑๙๙๐ มั้การใชี้้เทคโนโลัย้
อาร์เอฟไอด้้ในระบบไร้สื่ัมัผััสื่ (contactless) หลัังจุากนั�นมั้การขยายการป็ระยุกต์ใชี้้ไป็อย่างต่อเน่�อง ตัวอย่างท้�
เห็นได้้ชี้ัด้ในกิจุกรรมัป็ัจุจุุบัน เชี้่น การติด้ตามัการเคลั่�อนย้ายสื่ินค้า การควบคุมัการเข้าถุึงทรัพย์สื่ินของอาคาร
การติด้ตามัแลัะแยกแยะกระเป็๋าผั้้โด้ยสื่ารของสื่ายการบิน การติด้ตามัตําแหน่งของผั้้คนแลัะอุป็กรณ์์ภายใน
โรงงานขนาด้ใหญ่
หัลักการ์ของ RFID และ องค์ปร์ะกอบุ
เทคโนโลัย้อาร์เอฟไอด้้ใชี้้หลัักของการค้่ควบ (coupling) ของคลั่�นแมั่เหลั็กไฟฟ้าในชี้่วงสื่เป็กตรัมั
ความัถุ้�วิทยุท้�กำหนด้ไว้ เพ่�อใชี้้ในการระบุเอกลัักษณ์์ของวัตถุุ สื่ัตว์ สื่ิ�งของ หร่อบุคคลั ซึ่ึ�งเป็็นระบบการสื่่�อสื่าร
ไร้สื่ายผั่านคลั่�นวิทยุระหว่างจุุด้ต่อจุุด้ร้ป็แบบหนึ�ง ท้�มั้การแลักเป็ลั้�ยนข่าวสื่ารระหว่างกันของหน่วยอย้่กับท้�
(stationary unit) แลัะหน่วยท้�เคลั่�อนไหว (mobile unit)