Page 204 - 46-1
P. 204

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           196                     ปฏิิกิิริิยาริ่วมเฉืือนริะหว่างมวลริวมแอสฟััลต์์คอนกิริีต์ริีไซเคิลกิับต์าข่่ายเสริิมกิำาลังเส้นใยธริริมชาต์ิ


           ดึงในดินหร่อวิัสดุมีวิลรวิมี วิัสดุที่้�อยู่เหน่อตาข่่ายเสริมีกำาลังจัะมี้ค์วิามีเค์้นในแนวิดิ�งลดลงและมี้ค์วิามี

           เค์้นในแนวิราบเพื่ิ�มีข่ึ�น โดยค์วิามีเค์้นแนวิราบจัะถุูกถุ่ายไปให้แก่ตาข่่ายเสริมีกำาลัง ข่ณะที่้�วิัสดุที่้�อยู่ใต้

           ตาข่่ายเสริมีกำาลังจัะมี้ค์วิามีเค์้นแนวิดิ�งและค์วิามีเค์้นเฉื่อนลดลง และไมี่มี้ค์วิามีเค์้นในแนวิราบเน่�องจัาก
           ถุูกส่งไปให้แก่ตาข่่ายเสริมีกำาลังแล้วิ (Berg et al., 2000) ตาข่่ายเสริมีกำาลังช่วิยปรับปรุงค์วิามีแข่็ง
           (stiffness) ข่องดินผ่านการข่ัดกัน (interlocking) ระหวิ่างอนุภาค์ข่องมีวิลรวิมีกับช่องเปิดข่องตาข่่าย

           เสริมีกำาลัง การตรวิจัสอบพื่ฤติกรรมีร่วิมีเฉื่อนระหวิ่างอนุภาค์ข่องวิัสดุมีวิลรวิมีกับตาข่่ายเสริมีกำาลัง

           ที่ำาโดยการที่ดสอบด้วิยชุดที่ดสอบแรงเฉื่อนตรงข่นาดใหญ่่ (large-scale direct shear test−LDST)
           (Araujo et al., 2009; Kazimierowicz, 2007; Liu et al., 2009a; Palmeria et al., 2010;
           Suddeepong et al., 2018) พื่ฤติกรรมีร่วิมีเฉื่อนระหวิ่างอนุภาค์ข่องวิัสดุมีวิลรวิมีกับตาข่่ายเสริมีกำาลัง

           ข่ึ�นอยู่กับหลายปัจัจััย เช่น ข่นาดค์ละข่องมีวิลรวิมี รูปร่างข่องมีวิลรวิมี ชนิดและสมีบัติข่องตาข่่าย

           เสริมีกำาลัง การบดอัดในระหวิ่างการติดตั�ง และเง่�อนไข่การรับนำ�าหนัก (Palmeira, 2009) อภิชาติ
           สุดด้พื่งษ์ และค์ณะ (Suddeepong et al., 2018a) ระบุวิ่า กำาลังร่วิมีเฉื่อน (interface shear strength)
           ระหวิ่างมีวิลรวิมีกับตาข่่ายเสริมีกำาลังถุูกค์วิบค์ุมีด้วิยปริมีาณข่องมีวิลรวิมีที่้�มี้ข่นาดเล็กกวิ่าข่นาด

           ช่องเปิดข่องตาข่่ายเสริมีกำาลัง กล่าวิค์่อ หากมีวิลรวิมีที่้�มี้ข่นาดเล็กกวิ่าข่นาดช่องเปิดข่องตาข่่ายเสริมี

           กำาลังมี้ปริมีาณมีากจัะที่ำาให้กำาลังร่วิมีเฉื่อนมี้ค์่าสูง
                    ตาข่่ายเสริมีกำาลังส่วินใหญ่่ผลิตจัากวิัสดุสังเค์ราะห์จัำาพื่วิกพื่อลิเมีอร์ที่้�ย่อยสลายได้ยาก เช่น
           พื่อลิโพื่รไพื่ล้น (polypropylene−PP) พื่อลิเอที่ิล้นเที่เรฟัที่าเลต (polyethylene terephthalate−PET)

           และพื่อลิเอที่ิล้น (polyethylene−PE) (Prambauer et al., 2019) เมี่�อถุูกใช้งานในระยะยาวิจัะเกิด

           ค์วิามีเส้ยหายจัากปัจัจััยที่างสิ�งแวิดล้อมี เช่น ลมี นำ�า การเส้ยดส้ รังส้อัลตราไวิโอเลต ส่งผลให้เกิดการ
           สะสมีข่องเศึษพื่ลาสติกข่นาดเล็ก (micro plastics) ที่้�เป็นมีลพื่ิษต่อสิ�งแวิดล้อมี (Carneiro et al., 2018;
           Esiukova et al., 2018; Koerner et al., 2017) ด้วิยเหตุน้�จัึงมี้แนวิค์ิดที่้�จัะนำาเอาวิัสดุเส้นใยธรรมีชาติ

           ข่องพื่่ชจัำาพื่วิกปอ ป่าน เปล่อกมีะพื่ร้าวิ หร่อกัญ่ชง ซึ�งสามีารถุย่อยสลายเองได้ตามีธรรมีชาติ หาได้ง่าย

           ในที่้องถุิ�น ราค์าถุูก และมี้สมีบัติที่างวิิศึวิกรรมีที่้�เหมีาะสมี มีาใช้ที่ดแที่นตาข่่ายเสริมีกำาลังที่้�ผลิต
           จัากวิัสดุสังเค์ราะห์ในงานบางประเภที่ที่้�ไมี่ต้องการอายุการใช้งานข่องตาข่่ายเสริมีกำาลังที่้�ยาวินาน
           (Bhattacharyya et al., 2010; Marques et al., 2016)

                    เส้นใยธรรมีชาติมี้องค์์ประกอบหลัก ได้แก่ เซลลูโลส (cellulose) ลิกนิน (lignin) เฮมีิเซลลูโลส

           (hemicellulose) และเพื่กที่ิน (pectin) (Balla et al., 2019) เซลลูโลสค์่อองค์์ประกอบที่้�แข่็งแรงที่้�สุด
           ข่องเส้นใยธรรมีชาติ (Sanjay et al., 2019) ลิกนินเป็นสารประกอบพื่อลิเมีอร์ที่้�ไมี่มี้รูปผลึกเกาะกัน
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209