Page 213 - Journal451
P. 213
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓
ดร.วิิยงค์์ กัังวิานศุุภมงค์ล 201
อนุภาคนาโนที�ประยุกติ์ใชั่้ในผล่ติภัณฑ์์สิ่่�งทอเพิื�อให้้มีสิ่มบัติ่ยับยั�งแบคทีเรียไดั้้แก่ อนุภาค
นาโนซ่ลเวอร์ อนุภาคนาโนซ่งก์ออกไซดั้์ และอนุภาคนาโนไทเทเนียมไดั้ออกไซดั้์
0
โลห้ะซ่ลเวอร์ทั�งในรูป Ag และ Ag สิ่ามารถยับยั�งแบคทีเรียไดั้้ โดั้ยที�กลไกการยับยั�ง
+
แบคทีเรียของซ่ลเวอร์นั�นสิ่ามารถเก่ดั้ขึ�นไดั้้ห้ลายรูปแบบดั้ังแสิ่ดั้งในภาพิที� ๗ ไดั้้แก่ การทำาให้้
เยื�อหุ้้มเซลล์แติก การทำาลายเพิปท่โดั้ไกลแคน การรบกวนห้่วงโซ่การขนสิ่่งอ่เล็กติรอนและแรง
ขับเคลื�อนโปรติอน การทำาลายดั้ีเอ็นเอ การทำาให้้โปรติีนเสิ่ียสิ่ภาพิ การทำาให้้ไรโบโซมไม่ประกอบติัว
การทำาให้้เก่ดั้ภาวะเครียดั้จากปฏิ่ก่ร่ยาออกซ่เดั้ชั่ัน การยับยั�งเอนไซม์ ป่จจุบันมีการนำาเอานาโน
เทคโนโลยีมาสิ่ังเคราะห้์ให้้ซ่ลเวอร์มีขนาดั้เล็กลงในระดั้ับนาโนเมติร เรียกว่า อนุภาคนาโนซ่ลเวอร์
(Roy et al., 2019) ขนาดั้ของอนุภาคที�เล็กลงระดั้ับ ๑-๑๐๐ นาโนเมติร ทำาให้้เพิ่�มพิื�นที�ผ่วในการ
สิ่ัมผัสิ่กับแบคทีเรีย สิ่่งผลให้้อนุภาคนาโนซ่ลเวอร์มีประสิ่่ทธิ่ภาพิในการยับยั�งแบคทีเรียไดั้้มากกว่า
โลห้ะซ่ลเวอร์โดั้ยทั�วไป นอกจากนี�ยังพิบว่านาโนซ่ลเวอร์ยังมีสิ่มบัติ่การติ้านไวรัสิ่ดั้้วย (Galdiero
et al., 2011)
ภาพท่� ๗ กลไกทั�วไปสิ่ำาห้รับการติ้านฤทธิ่�จุลชั่ีพิของอนุภาคนาโนซ่ลเวอร์
ท่�มา : Roy et al., 2019