Page 29 - 22-0722 EBOOK
P. 29
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
ศาสตราจารย์์ ดร.อรัญ อินเจริญศักดิ� 19
๒. ระบบการผลิิตไฮโดรเจนในไซยาโนแบคทีเรีย
ไซยาโนแบคทั้ีเรียมีสายพื่้นธีุ์ทั้ี�หลิากหลิายแลิะมีลิ้กษณิะทั้ี�แตกต่างก้น เช้่น แบบเซลิลิ์เดียว
(unicellular) [ภาพื่ทั้ี� ๒ (A)] แบบเส้นใย (filamentous) [ภาพื่ทั้ี� ๒ (B)] มีความสามารถในการผลิิต
ไฮโดรเจนผ่านกระบวนการการแยกทั้างช้ีวภาพื่ด้วยแสง โดยเพื่ียงแต่ใช้้สารอาหารพื่่�นฐานเทั้่าน้�น
กระบวนการผลิิตไฮโดรเจนก็จะแตกต่างก้นไป ข้่�นอย้่ก้บการทั้ำางานข้องเอนไซม์ทั้ี�ไวต่อออกซิเจน ในภาวะ
ทั้ี�ข้าดไนโตรเจนในอาหาร ไซยาโนแบคทั้ีเรียแบบเส้นใยจะสามารถตร่งไนโตรเจนจากอากาศึได้ระหว่าง
การแบ่งเซลิลิ์ โดยทั้ี�เซลิลิ์ทั้ี�ตร่งไนโตรเจนแลิะเซลิลิ์ทั้ี�ส้งเคราะห์แสงเรียกว่า เฮเทั้อโรซีสต์ (heterocyst)
แลิะเวจีเทั้ทั้ีฟ (vegetative) ตามลิำาด้บ [ภาพื่ทั้ี� ๒ (C)] เซลิลิ์เฮเทั้อโรซีสต์ทั้ี�เจริญเต็มทั้ี� (mature het
erocyst) จะมีเอนไซม์ทั้ี�ใช้้ในกระบวนการตร่งไนโตรเจนแลิะการผลิิตไฮโดรเจน แต่ส้ญเสียการทั้ำางานข้อง
photosystem II ทั้ำาให้ความสามารถในการส้งเคราะห์แสงลิดลิงหร่อไม่เกิดข้่�น ต่างไปจากเซลิลิ์เวจีเทั้ทั้ีฟ
อีกทั้้�งเซลิลิ์เฮเทั้อโรซีสต์จะไม่สามารถใช้้คาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศึได้ เพื่ราะไม่มีการทั้ำางานข้อง
เอนไซม์ทั้ี�สำาค้ญ แต่จะสามารถใช้้พื่ลิ้งงานจากการย่อยสลิายคาร์โบไฮเดรต ซ่�งส่วนใหญ่จะอย้่ในร้ปข้อง
นำ�าตาลิจากเซลิลิ์เวจีเทั้ทั้ีฟ ในการผลิิตอิเลิ็กตรอนผ่านกระบวนการออกซิเดช้้นข้องเพื่นโทั้สฟอสเฟต
[oxidative pentose phosphate (OPP)] จากการย่อยสลิายคาร์โบไฮเดรตเปลิี�ยนเป็นพื่ลิ้งงาน แลิะ
ใช้้พื่ลิ้งงานนี�ในการตร่งไนโตรเจน อีกทั้้�งส่งไนโตรเจนทั้ี�ตร่งได้ ค่อ กลิ้ตามีนกลิ้บไปย้งเซลิลิ์เวจีเทั้ทั้ีฟ