ชื่อ ศาสตราจารย์ ดร. นพ.นรัตถพล เจริญพันธุ์
วัน เดือน ปี เกิด วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๑
ภาคีสมาชิก แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
สาขาวิชาสรีรวิทยา ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำนักวิทยาศาสตร์
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
- กรรมการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วิทยาศาสตร์
- กรรมการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์แพทยศาสตร์
- กรรมการดำเนินการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ประวัติการศึกษา
- ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๔๒)
- ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสรีรวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๔๔)
- ปริญญาตรี แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๔๗)
ประวัติการทำงานวิชาการ
- อาจารย์ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๐)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๒)
- รองศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๔)
- ศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๗)
- ศาสตราจารย์อาวุโส (ศาสตราจารย์ระดับ ๑๑ เดิม) มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๕๗-ปัจจุบัน)
ประวัติการทำงานบริหาร
- ผู้อำนวยการสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๕๙-ปัจจุบัน)
- หัวหน้าหน่วยวิจัยด้านแคลเซียมและกระดูก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- รักษาการแทนผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๖๑-ปัจจุบัน)
ผลงานวิชาการ
- ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ จำนวน ๑๒๒ เรื่อง
- สิ่งประดิษฐ์ (สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร) จำนวน ๓ ชิ้น
- หนังสือ/ผลงานที่มีลิขสิทธิ์จำนวน ๒ เรื่อง
- บทความและงานเขียนอื่น ๆ กว่า ๑๕๐ เรื่อง
ผลงานตีพิมพ์ย้อนหลัง ๒ ปี (ค.ศ. ๒๐๑๘–๒๐๑๙ เฉพาะที่เป็นผู้วิจัยหลักและเป็นวารสารใน Quartile ๑)
๑. Rodrat M, Wongdee K, Panupinthu N, Thongbunchoo J, Teerapornpuntakit J, Krishnamra N, Charoenphandhu N. Prolonged exposure to 1,25(OH)2D3 and high ionized calcium induces FGF-23 production in intestinal epithelium-like Caco-2 monolayer: a local negative feedback for preventing excessive calcium transport. Archives of Biochemistry and Biophysics 2018;640:10–16.
๒. Lertsuwan K, Nammultriputtar K, Nanthawuttiphan S, Phoaubon S, Lertsuwan J, Thongbunchoo J, Wongdee K, Charoenphandhu N. Ferrous and ferric differentially deteriorate proliferation and differentiation of osteoblast-like UMR-106 cells. Biometals 2018;31(5):873–889.
๓. Teerapornpuntakit J, Chanprapaph P, Charoenphandhu N. Previous adolescent pregnancy and breastfeeding does not negatively affect bone mineral density at the age of peak bone mass. Breastfeeding Medicine 2018;13(7):500–505.
๔. Wongdee K, Rodrat M, Keadsai C, Jantarajit W, Teerapornpuntakit J, Thongbunchoo J, Charoenphandhu N. Activation of calcium-sensing receptor by allosteric agonists cinacalcet and AC-265347 abolishes the 1,25(OH)2D3-induced Ca2+ transport: evidence that explains how the intestine prevents excessive Ca2+ absorption. Archives of Biochemistry and Biophysics 2018;657:15–22.
๕. Aeimlapa R, Wongdee K, Tiyasatkulkovit W, Kengkoom K, Krishnamra N, Charoenphandhu N. Anomalous bone changes in ovariectomized type-2 diabetic rats: inappropriately low bone turnover with bone loss in an estrogen-deficient condition. American Journal of Physiology – Endocrinology and Metabolism 2019;317(4):E646–E657.
๖. Tiyasatkulkovit W, Promruk W, Rojviriya C, Pakawanit P, Chaimongkolnukul K, Kengkoom K, Teerapornpuntakit J, Panupinthu N, Charoenphandhu N. Impairment of bone microstructure and upregulation of osteoclastogenic markers in spontaneously hypertensive rats. Scientific Reports 2019;9(1):12293. doi:10.1038/s41598-019-48797-8
๗. Charoenphandhu N, Aeimlapa R, Sooksawanwit S, Thongbunchoo J, Teerapornpuntakit J, Svasti S, Wongdee K. Responses of primary osteoblasts and osteoclasts from hemizygous β-globin knockout thalassemic mice with elevated plasma glucose to 1,25-dihydroxyvitamin D3. Scientific Reports 2019;9(1):13963. doi:10.1038/s41598-019-50414-7
ความเชี่ยวชาญ
สรีรวิทยาของแคลเซียมและกระดูก
เกียรติคุณที่ได้รับ เช่น
- รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย (พ.ศ. ๒๕๕๔)
- รางวัลนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ดีเด่น DMSc Award ประเภทวิจัยและพัฒนา จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (พ.ศ. ๒๕๕๗)
- เมธีวิจัยอาวุโส สกว. (พ.ศ. ๒๕๕๗)
- พนักงานมหาวิทยาลัยดีเด่นด้านวิชาการ ระดับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. ๒๕๖๐)
- รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการประดิษฐ์และนวัตกรรม (พ.ศ. ๒๕๖๑)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๕๙
- จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ. ๒๕๕๔