สำนัก :ศิลปกรรม
ประเภทวิชา :วรรณศิลป์
สาขาวิชา :วรรณคดีเปรียบเทียบ
ที่อยู่ :๗/๑ เอกมัย ซอย ๑๐ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐
คุณวุฒิ:
อ.บ. (เกียรตินิยม) (ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๖
อ.ม. (ภาษาเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๙
Magister Artium (M.A.) Ruprecht-Karls University Heidelberg, ๒๕๒๓
Dr.phil (ภาษาศาสตร์ประยุกต์ วรรณคดี ดนตรี) Ruprecht-Karls University Heidelberg, ๒๕๒๘
ตำแหน่ง:
กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ดนตรีสากล
ที่ปรึกษาในคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์
เกียรติคุณ:
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ
ศิษย์เก่าดีเด่น 'เพชรเม็ดงาม' โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
ผลงานสำคัญ:
สองยุคแห่งวัฒนธรรมไวมาร์, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (ภาษาไทย) (๒๔๔ หน้า), ๒๕๔๓
ออกเสียงภาษาเยอรมัน (German Phonetics), สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (๒๕๓๗, พิมพ์ครั้งที่ ๒ ๒๕๔๕, พิมพ์ครั้งที่ ๓ ๒๕๔๙) (ภาษาไทย-เยอรมัน) (๒๔๕ หน้า)
จากความคิดสู่ภาษา-การเรียงลำดับคำในข้อความในแง่ภาษาศาสตร์จิตวิทยา. งานวิจัยสาขาภาษาศาสตร์จิตวิทยา เพื่อเพิ่มความสามารถในการเขียนภาษาเยอรมันของนักศึกษาไทย, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔ (ภาษาไทย) (๑๘๐ หน้า)
คลาสสิกยุโรปและคลาสสิกในวรรณกรรมไทย, ใน: วารสารอักษรศาสตร์, มกราคม-มิถุนายน, ๒๕๔๓, ๘๒-๑๑๗. และใน: ธีระ นุชเปี่ยม (บรรณาธิการ) จากตะวันออก-ตะวันตก สู่โลกาภิวัตน์ทางปัญญา โครงการเอเชีย-ยุโรปศึกษา สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว), ๒๗-๖๘. และใน Proceedings การประชุมนานาชาติด้าน อักษรศาสตร์เยอรมันครั้งที่ ๑๑ มหาวิทยาลัยปารีส IV (Sorbonne), ปารีส ฝรั่งเศส ๒๖ สิงหาคม ๓ กันยายน ๒๕๔๘, เล่มที่ ๑๑, ๒๕๕๐. ๑๑๑-๑๑๗. (ภาษาเยอรมัน ฉบับสั้น)
Die Selbstverwirklichung Fausts aus buddhistischer Perspektive (การพิสูจน์อัตตาของเฟาส์จากมุมมอง ทางพุทธศาสนา), ใน : Jahrbuch Deutsch als Fremdsprache ๒๘, ๒๐๐๒. มิวนิค: สำนักพิมพ์ iudicium, ๒๔๔๗, ๕๓-๖๘. (ภาษาเยอรมัน ฉบับเต็ม) และ Pornsan Watananguhn, Faust?s Self-realization from a Buddhist Prespective, in: MANUSYA Journal of Humanities, Vol.4, No.1, มีนาคม ๒๕๔๔, ๗๘-๙๐.
การเดินทางข้ามพรมแดน จากวรรณกรรมสู่แผ่นฟิล์ม.โธมัส มันน์ 'ความตายที่เวนิส' สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒
ความเชี่ยวชาญ: