ศาสตราจารย์ ดร. วิจินตน์ ภาณุพงศ์ (ภาคีสมาชิก)

สำนัก :ศิลปกรรม
ประเภทวิชา :วรรณศิลป์
สาขาวิชา :ภาษาศาสตร์
ที่อยู่ :๓๒/๒๙ ซอยลาดพร้าว ๒๓ ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
คุณวุฒิ:อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๒) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๔๙๘
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๐๐
M.A. (Linguistics and Phonetics) S.O.A.S. มหาวิทยาลัยลอนดอน, ๒๕๐๒
Ph.D. (Linguistics) S.O.A.S. มหาวิทยาลัยลอนดอน, ๒๕๐๕
ตำแหน่ง:
ประธานคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ทั่วไป)
ประธานคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์)
กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมท้องถิ่นไทย ภาคใต้
เกียรติคุณ:
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก, ๒๕๓๖
เหรียญจักรพรรดิมาลา, ๒๕๒๔
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙
รางวัลพระเกี้ยวทองคำ รางวัลนักวิจัยในฐานะเป็นผู้นำในการวิจัยภาษาไทยโดยหลักการทางภาษาศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๑
ศิษย์เก่าดีเด่นของสมาคมนักเรียนทุนบริติชเคาน์ซิล, ๒๕๔๓
ผลงานสำคัญ:
?คำศัพท์ภาษาถิ่นในคำซ้อนภาษาไทย.? ใน วารสารราชบัณฑิตยสถาน ๓๐ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๔๘) หน้า ๑๖๐-๑๖๗. และประมวลผลงานของสำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๗)
?ความหมายของคำศัพท์ที่ใช้ในภาษาไทยถิ่น ๕ ถิ่น เปรียบเทียบกับคำศัพท์ที่ใช้ในภาษาไทยกรุงเทพ.? วารสารราชบัณฑิตยสถาน ๓๑ (ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๔๙) หน้า ๑๒๐๖-๑๒๒๖.
?ภูมิศาสตร์คำศัพท์ในจังหวัดนครราชสีมา : โครงการทดลอง. ฝ่ายวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดพิมพ์ ต.ค. ๒๕๒๙ ชุดงานวิจัยลำดับที่ ๑๑?
ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาถิ่นจังหวัดนครราชสีมา ใน วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๐
โครงสร้างภาษาไทย : ระบบไวยากรณ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๒๐
ปาฬิกับสัททอักษรสากล : คู่มือระบบการออกเสียงปาฬิในพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (๒๕๕๒). กองทุน สนทนาธัมม์นำสุข ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ จัดพิมพ์ (ฉบับภาษาอังกฤษ, ๒๕๕๑)
ความเชี่ยวชาญ: