ศาสตราจารย์กิตติคุณศักดา ศิริพันธุ์ (ราชบัณฑิต)

สำนัก :วิทยาศาสตร์
ประเภทวิชา :วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
สาขาวิชา :
ฟิสิกส์และดาราศาสตร์
ที่อยู่ :๒ ซอยวิเศษสุข ๓ ถนนพระราม ๙ (ซอย ๕๗) กรุงเทพฯ ๑๐๒๕๐
คุณวุฒิ:
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๐๗
Certificate in Optics , Photophysics & Color Science, The Swiss Federation Institute of Technology (ETH ZURICH) (Swiss Scholarship), ๒๕๑๑-๒๕๑๓
M.S. in Photographic Science and Color Science, Rochester Institute of Technology สหรัฐอเมริกา, ๒๕๑๓-๒๕๑๔
ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๓๖๖ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ๒๕๓๖
ตำแหน่ง:
เลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, ๒๕๔๒-๒๕๕๔
คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๘-๒๕๔๒
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ, ๒๕๔๑-๒๕๔๘
ประธานคณะอนุกรรมการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์, ๒๕๔๙-๒๕๕๑
รองประธานคณะอนุกรรมาธิการศึกษาการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, ๒๕๕๐-๒๕๕๑
ที่ปรึกษาสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงพาณิชย์, ๒๕๔๘-ปัจจุบัน
กรรมการวิชาการของคณะกรรมการวิชาการของวุฒิสภา, ธันวาคม ๒๕๕๑-๒๕๕๓ - ประธานกรรมการที่ปรึกษาของคณะวิทยาศาสตร์, มีนาคม ๒๕๕๒-๒๕๕๔ - กรรมการบริหารองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ,๒๕๔๑-๒๕๔๔
กรรมการบริหารการท่องเที่ยวไทย , ๒๕๔๑
เกียรติคุณ:
ภายในประเทศ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือกและมหาวชิรมงกุฎไทย
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งราชบัณฑิต ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาฟิสิกส์ พ.ศ. ๒๕๓๖
ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,๒๕๕๓
ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาฟิสิกส์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตุลาคม , ๒๕๕๓
นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ , ๒๕๓๘-๒๕๔๒
ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ๒๕๔๒
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม, ๒๕๔๗
ที่ปรึกษารัฐมนตรีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฝ่ายวิชาการ, มีนาคม ๒๕๕๑ ต่างประเทศ
Prof. Raymond C. Bowman Award จาก Society of Photographic Scientists and Engineers (USA)(คนแรกของเอเชีย), 2528 - HON.F.RPS (Honorary Fellow of the Royal Photographic Society of Great Britain) 2532
ผลงานสำคัญ:
งานวิจัย
ศักดา ศิริพันธุ์ Notation of Thai Mural Painting Color by means of Munsell and CIE Color Systems, ๒๕๒๒ (ได้รับรางวัลผลงานวิจัยชั้นดี จากทุนวิจัยรัชดาภิเษกสมโภชน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ศักดา ศิริพันธุ์ และคณะโครงการพัฒนาระบบสื่อสารเรื่องสีเพื่อการประเมินคุณภาพของอัญมณี?, ๒๕๔๗ (ได้รับรางวัลงานวิจัยดีเด่นประจำปี ๒๕๔๗ ของ สกว.)
การศึกษาโอกาสการค้าอัญมณีและเครื่องประดับไทยในสหรัฐอเมริกาภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ปี ๒๕๕๓ (ศักดา ศิริพันธุ์ ,กฤตินี ณัฎฐวุฒิสิทธิ์) และนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง
ips and Trends for Gem & Jewelry in 2011-2012 presented to Gem & Jewelry manufacturer and Exporter at Holiday Inn , August 18 , 2011
ตำรา
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสือเทคนิคและศิลปะการถ่ายภาพ บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๒๒, ๒๓๐ หน้า (ได้รับรางวัล เรียบเรียงชั้นดีจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสือกษัตริย์กับกล้อง พิมพ์ครั้งที่ ๑ บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๓๔, ๓๙๒ หน้า (ได้รับรางวัลชมเชยในกลุ่มหนังสือสารคดี พ.ศ.๒๕๓๔ จากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ)
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสือเพชร? พิมพ์ครั้งที่ ๑ บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๔๘, ๒๕๒ หน้า (ได้รับรางวัลชมเชยในกลุ่ม หนังสือสารคดี พ.ศ. ๒๕๔๙ จากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ)
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสืออัญมณีในเครื่องประดับ? พิมพ์ครั้งที่ ๑ บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๕๒, ๒๖๙ หน้า
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสือแกะรอยไอน์สไตน์ 1 บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๔๘, ๒๐๐ หน้า
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสือแกะรอยไอน์สไตน์ 2 บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๔๙, ๓๐๔ หน้า
ประธานจัดทำหนังสือภูมิทัศน์ไทย บรรณาธิการภาพและถ่ายภาพ บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๓๙, ๓๙๒ หน้า
ผู้ถ่ายภาพหนังสือเวลาเป็นของมีค่า
ศักดา ศิริพันธุ์ หนังสือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาแห่งการถ่ายภาพไทย พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ ๒๕๕๕, ๓๖๔ หน้า
ความเชี่ยวชาญ: