สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

63 ไม่เจียมตัวว่าต�่ ำต้อย เผยอไปหลงรักชายที่มียศศักดิ์สูงส่ง ชีวิตจึงมี แต่ความทุกข์น่าเวทนาเช่นนี้ ความดีเด่น วรรคทองที่ยกมานี้เป็นบทครวญคร�่ ำร� ำพันที่มีความโดดเด่นอย่าง ยิ่งทั้งการแสดงสัจธรรมของความรักที่สะเทือนอารมณ์และการแสดง มิติอารมณ์อันซับซ้อนลึกซึ้งของหญิงสาวที่ชายคนรักก� ำลังจะพราก จากไป ทั้งอารมณ์รัก หวั่นไหว เจ็บปวดเสียใจ น้อยเนื้อต�่ ำใจ และเจ็บ แค้นขมขื่นที่ระคนอยู่ภายในใจ ท� ำให้นางกล่าวออกมาเป็นถ้อยค� ำและ ความเปรียบที่ไพเราะและสื่อความหมายอย่างคมคายกินใจ ในกลอนบทแรก จินตะหราร� ำพันและตัดพ้อถึงธรรมชาติความรัก ของชายหนุ่มได้อย่างกระทบใจ กวีสามารถสรรค� ำและความเปรียบที่ สื่อภาพและความหมายได้อย่างลึกซึ้งคมคายอย่างยิ่ง คือน� ำธรรมชาติ ของสายน�้ ำที่ทั้งฉ�่ ำเย็น เชี่ยวกราก และมีแต่ไหลไปไม่หวนกลับ มา เปรียบเทียบกับธรรมชาติความรักของชายหนุ่ม การที่นางร� ำพันว่า ความรักของอิเหนานั้น “เพิ่งประจักษ์ดั่งสายน�้ ำไหล”“ตั้งแต่จะเชี่ยว เป็นเกลียวไป” และ “ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา” สื่อความหมายอย่าง ลึกซึ้งว่า เริ่มแรกความรักที่อิเหนามอบแก่นางนั้นได้น� ำพาความชื่นเย็น มาสู่ชีวิตของนางเช่นเดียวกับ “สายน�้ ำไหล” ขณะเดียวกันก็ให้ภาพว่า สายน�้ ำนี้ก็มิได้ไหลอย่างธรรมดา แต่ไหลอย่าง “เชี่ยวเป็นเกลียวไป” คือไหลทะลักอย่างรุนแรงและเคลื่อนไหวไปข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา ภาพดังกล่าวนี้สื่อถึงธรรมชาติความรักของชายได้อย่างชัดเจนว่า เมื่อ อยู่ในอารมณ์รักใคร่ ความเสน่หานั้นก็มีพลังรุนแรงยากจะเหนี่ยวรั้ง นางร� ำพันต่อไปว่าความ “เชี่ยว” แห่งอารมณ์รักนี้ เป็นสิ่งที่เมื่อผ่าน พ้นไปแล้วก็มีแต่จะจืดจาง ไม่มีวันหวนกลับมาเหมือนเดิมได้อีก เช่น เดียวกับสายน�้ ำที่มีแต่ไหลไป “ไหนเลยจะไหลคืนมา” อันสื่อนัยว่า เมื่ออิเหนาจากนางไปเมืองดาหา การอยู่ห่างไกลกันก็ย่อมท� ำให้ความ สัมพันธ์เหินห่างกันไปเป็นธรรมดา และยิ่งเมื่อได้พบกับบุษบาซึ่งเป็นคู่ ตุนาหงันกับอิเหนามาก่อน และนางยังมีทั้งความงามและความเหมาะ แล้วว่าอนิจจาความรัก อิเหนา �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 63 8/8/2557 BE 3:09 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=