สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

405 กลอนสุภาพแต่ละวรรคมีจ� ำนวนค� ำประมาณ ๗-๑๐ ค� ำ ส่วนใหญ่ นิยมวรรคละ ๘ - ๙ ค� ำ และแบ่งจังหวะการอ่านเป็น ๓ ช่วง คือ ๓-๒-๓ หรือ ๓-๓-๓ สัมผัส กลอนสุภาพ๑บทบังคับสัมผัสระหว่างวรรคหรือสัมผัสนอกซึ่งเป็น สัมผัสสระ ๓ แห่ง คือ ค� ำสุดท้ายของวรรคแรกส่งสัมผัสไปยังค� ำที่ ๓ (หรือ ค� ำที่ ๒, ๕ หรือ ๖) ของวรรคที่ ๒ ค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ส่ง สัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ส่ง สัมผัสไปยังค� ำที่ ๓ (หรือ ค� ำที่ ๒, ๕ หรือ ๖) ของวรรคที่ ๔ ดังปรากฏใน กลอนตัวอย่างข้างต้น คือ สวาท-ชาติ, สีห์-(กัตเว)ที และ (กัตเว)ที-ที่ กลอนสุภาพบังคับสัมผัสระหว่างบท คือ ค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ในบทต้นส่งสัมผัสระหว่างบทไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในบทถัด ไป ดังปรากฏในกลอนตัวอย่างข้างต้น คือ คน-หน กลอนสุภาพอาจมีสัมผัสภายในวรรคที่เรียกว่าสัมผัสใน ซึ่งเป็น ได้ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ เพื่อเสริมให้กลอนไพเราะยิ่งขึ้น ตัวอย่างสัมผัสในที่เป็นสัมผัสสระในกลอน เช่น น้อย-กลอย, เนื้อ- เชื้อ, สัตย์-กัต(เวที), (สรร)เสริญ-เจริญ, แช่ง-แห่ง, ร้อน-งอน(หง่อ) ฯลฯ ตัวอย่างสัมผัสในที่เป็นสัมผัสพยัญชนะในกลอนตัวอย่าง เช่น หน่อ-เนื้อ, เชื้อ-ชาติ, (รัก)ษา-ศีล-สัตย์, แห่ง-หน, งอน-หง่อ ฯลฯ วรรณยุกต์ กลอนสุภาพแม้จะไม่บังคับเสียงวรรณยุกต์ แต่ในการลงเสียงท้าย วรรคมักนิยมใช้เสียงวรรณยุกต์บางเสียงเพื่อความไพเราะ ดังนี้ ท้ายวรรคที่๑ ลงเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ เช่น สวาท ท้ายวรรคที่ ๒ นิยมลงเสียงจัตวา และอาจลงเสียงอื่นได้ ยกเว้น เสียงสามัญ เช่น สีห์, หน ท้ายวรรคที่ ๓ นิยมเสียงสามัญและเสียงตรี เช่น (กัตเว)ที, (ทร)พล ท้ายวรรคที่ ๔ นิยมเสียงสามัญและเสียงตรี เช่น คน, ยศ รูปแบบค� ำประพันธ์ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 405 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=