สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
400 กวีวัจน์วรรณนา ค� ำลหุเขียนแทนด้วยเครื่องหมายไม้กลัด หรือตีนอุ (สระอุ) อีทิสังฉันท์บังคับค� ำครุและค� ำลหุดังนี้ วรรคที่ ๑ มี ๙ ค� ำขึ้นต้นด้วย ค� ำครุสลับกับค� ำลหุไปจนจบวรรค เช่น “พึ่งพระคุณกะรุณยะค�่ ำและ เช้า” วรรคที่ ๒ มี ๘ ค� ำ ขึ้นต้นด้วยค� ำลหุสลับกับค� ำครุไปจนจบวรรค เช่น “จะปราศะโศกบมีเศร้า” วรรคที่ ๓ มี ๓ ค� ำ ขึ้นต้นด้วยค� ำลหุและ ตามด้วยค� ำครุ ๒ ค� ำ เช่น “ฤทุกขัง” สัมผัส อีทิสังฉันท์บังคับสัมผัสนอก ดังนี้ซึ่งเป็นสัมผัสสระ ๒ แห่งได้แก่ ค� ำสุดท้ายของวรรคแรกส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ และ ค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคแรกในบท ถัดไป อีทิสังฉันท์อาจมีสัมผัสภายในวรรคที่เรียกว่าสัมผัสใน ซึ่งมักเป็น สัมผัสพยัญชนะเพื่อเสริมให้ฉันท์ไพเราะยิ่งขึ้น เช่น (ปรา)ศะ-โศก- เศร้า, อิ่ม-เอม, เปรม-ปริ(ยัง), รื่น-รส-ระ(ตี)-(จิ)รัง �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 400 8/8/2557 BE 3:10 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=