สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

398 กวีวัจน์วรรณนา ค� ำลหุ คือค� ำหรือพยางค์เสียงเบา หมายถึงค� ำหรือพยางค์ที่ ประสมด้วยสระเสียงสั้นและไม่มีตัวสะกด มีค� ำเสียงหนักที่อนุโลมให้ เป็นค� ำลหุในการแต่งฉันท์ได้ ได้แก่ บ บ่ ณ ธ ก็ ฤ บางครั้งค� ำที่ประสม สระอ� ำ ก็นับเป็นค� ำลหุได้ ขึ้นกับการออกเสียงอ่าน ค� ำลหุเขียนแทนด้วยเครื่องหมายไม้กลัด หรือตีนอุ (สระอุ) วสันตดิลกฉันท์บังคับค� ำลหุในต� ำแหน่งที่ ๓, ๕, ๖ และ ๗ ของวรรค หน้า และต� ำแหน่งที่ ๑, ๒ และ ๔ ของวรรคหลังส่วนค� ำที่เหลือเป็นค� ำ ครุ ดังเช่นในบาทว่า “หญิงควรจะเปรมกะมะละยิ่ง ผิวะจิตตะ ตอบรับ” ค� ำลหุคือค� ำว่า จะ กะ มะ ละ ผิ วะ ตะ ค� ำครุคือค� ำว่าหญิง ควร เปรม ยิ่ง จิต ตอบ รัก สัมผัส วสันตดิลกฉันท์บังคับสัมผัสนอกซึ่งเป็นสัมผัสสระ ๒ แห่ง ได้แก่ค� ำ สุดท้ายของวรรคที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และค� ำ สุดท้ายของวรรคที่ ๔ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในฉันท์ บทถัดไป ในบางครั้งอาจมีการเพิ่มสัมผัสสระอีก ๑ แห่งคือ ค� ำสุดท้าย ของวรรคแรกส่งสัมผัสไปยังค� ำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 398 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=