สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

396 กวีวัจน์วรรณนา ค� ำลหุเขียนแทนด้วยเครื่องหมายไม้กลัด หรือตีนอุ (สระอุ) ภุชงคปยาตฉันท์บังคับค� ำลหุในต� ำแหน่งที่ ๑ และ ๔ ของแต่ละ วรรค ส่วนค� ำที่เหลือเป็นค� ำครุ ดังนั้นในฉันท์ตัวอย่างนี้ มีค� ำลหุ เช่น ชะ, กระ, ยะ, พะ, ระ, ละ, ประ, ฉะ, จะค� ำครุ เช่น ดุก, โดด, โลด, หยอย, น�้ ำ, พร�่ ำ สัมผัส ภุชงคปยาตฉันท์บังคับสัมผัสนอกซึ่งเป็นสัมผัสสระ ๓ แห่ง ได้แก่ ค� ำสุดท้ายของวรรคแรกส่งสัมผัสไปยังค� ำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ ค� ำสุดท้าย ของวรรคที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และค� ำสุดท้าย ของวรรคที่ ๔ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ในฉันท์บทถัดไป ภุชงคปยาตฉันท์อาจมีสัมผัสภายในวรรคที่เรียกว่าสัมผัสใน ซึ่งมัก เป็นสัมผัสพยัญชนะ เพื่อเสริมให้ฉันท์ไพเราะยิ่งขึ้น เช่น โด-ดุก-ดี่- โดด, สลาด-โลด, ยะ-หยอย, ฉอก-ฉาน-ฉ่อน-ชล, ระ-รี่-ริ้ว �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 396 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=