สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
393 โตฎกฉันท์ ๑๒ แผนผังของโตฎกฉันท์ ๑๒ ตัวอย่างค� ำประพันธ์ที่แต่งด้วยโตฎกฉันท์ ๑๒ ประลุฤกษมุหุต ทินอุตดมไกร รณรงควิชัย- ยะดิถีศุภยาม ทิชพฤฒิปุโร- หิตโกวิทพราหมณ์ ก็ประกอบกิจตาม นิติไสยพิธี (สามัคคีเภทค� ำฉันท์) ฉันทลักษณ์ของโตฎกฉันท์ ๑๒ คณะ โตฎกฉันท์ ๑ บท แบ่งเป็น ๒ บาท ใน ๑ บาทมี ๒ วรรค แต่ละวรรค มี ๖ ค� ำ (พยางค์) ๑ บาทจึงมี ๑๒ ค� ำ (พยางค์) เช่น “ประลุฤกษมุหุต ทินอุตดมไกร” โตฎกฉันท์แต่ละวรรคแบ่งจังหวะการอ่านเป็น ๒ ช่วง คือ ๓-๓ ครุ-ลหุ โตฎกฉันท์บังคับค� ำ(พยางค์)ครุลหุ ค� ำครุ คือค� ำหรือพยางค์เสียงหนักหมายถึงค� ำหรือพยางค์ที่ประสม สระเสียงยาว รวมถึงสระอ� ำ ไอ ใอ เอา และค� ำหรือพยางค์ที่มีตัวสะกด ค� ำครุเขียนแทนด้วยเครื่องหมายไม้ผัด(ไม้หันอากาศ) ค� ำลหุ คือค� ำหรือพยางค์เสียงเบา หมายถึงค� ำหรือพยางค์ที่ประสม ด้วยสระเสียงสั้นและไม่มีตัวสะกด มีค� ำเสียงหนักที่อนุโลมให้เป็นค� ำ ลหุในการแต่งฉันท์ได้ ได้แก่ บ บ่ ณ ธ ก็ ฤ บางครั้งค� ำที่ประสมสระอ� ำ ก็นับเป็นค� ำลหุได้ ขึ้นกับการออกเสียงอ่าน รูปแบบค� ำประพันธ์ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 393 8/8/2557 BE 3:10 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=