สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

392 กวีวัจน์วรรณนา ด้วยสระเสียงสั้นและไม่มีตัวสะกด มีค� ำเสียงหนักที่อนุโลมให้เป็นค� ำ ลหุในการแต่งฉันท์ได้ ได้แก่ บ บ่ ณ ธ ก็ ฤ บางครั้งค� ำที่ประสมสระอ� ำ ก็นับเป็นค� ำลหุได้ ขึ้นกับการออกเสียงอ่าน ค� ำลหุเขียนแทนด้วยเครื่องหมายไม้กลัดหรือตีนอุ (สระอุ) อินทรวิเชียรฉันท์บังคับค� ำลหุในแต่ละวรรคดังนี้ วรรคหน้าบังคับค� ำครุในต� ำแหน่งที่ ๑, ๒, ๔ และ ๕ และบังคับค� ำ ลหุในต� ำแหน่งที่ ๓ เช่น “ภาคพื้นพนารัญ” วรรคหลังบังคับค� ำลหุในต� ำแหน่งที่ ๑, ๒ และ ๔ และบังคับค� ำครุ ในต� ำแหน่งที่ ๓, ๕ และ ๖ เช่น “จรแสนสราญรมย์” สัมผัส อินทรวิเชียรฉันท์บังคับสัมผัส ดังนี้ อินทรวิเชียรฉันท์บังคับสัมผัสนอกซึ่งเป็นสัมผัสสระ ๒ แห่ง ได้แก่ ค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และ ค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ใน ฉันท์บทถัดไป อินทรวิเชียรฉันท์อาจมีสัมผัสภายในวรรคที่เรียกว่าสัมผัสใน ซึ่ง มักเป็นสัมผัสพยัญชนะ เพื่อเสริมให้ฉันท์ไพเราะยิ่งขึ้น เช่น ภาค-พื้น- พ(นารัญ), โขด-เขิน-(ศิ)ขร-เขา, ลิ่ว-ละ-ลาน �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 392 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=