สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
389 สัมผัส โคลงสี่สุภาพบังคับสัมผัสระหว่างวรรคหรือสัมผัสนอกซึ่งเป็น สัมผัสสระ ๓ แห่ง คือค� ำสุดท้ายของวรรคที่๒ ส่งสัมผัสไปยังค� ำสุดท้าย ของวรรคที่ ๓ กับ ๕ และค� ำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ส่งสัมผัสไปยังค� ำ สุดท้ายของวรรคที่ ๗ ดังปรากฏในโคลงตัวอย่างได้แก่ ใด-ใคร-ใหล และ หล้า-อ้า โคลงสี่สุภาพอาจมีสัมผัสภายในวรรคที่เรียกว่าสัมผัสใน ซึ่งเป็น ได้ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร เพื่อเสริมให้โคลงไพเราะยิ่งขึ้น เช่น ฦๅ-เล่า, ย่อม-ยอ-ยศ, หลับ-ใหล, เอง-อ้า โดยทั่วไป โคลงสี่สุภาพไม่บังคับสัมผัสระหว่างบท แต่ถ้ามีสัมผัส ระหว่างบทจะเรียกว่า “ร้อยโคลง” โดยจะให้ค� ำสุดท้ายของบทไป สัมผัสกับค� ำที่ ๑, ๒, ๓, ๔ หรือ ๕ ของวรรคแรกในโคลงบทถัดไป เอกโท โคลงสี่สุภาพบังคับรูปวรรณยุกต์เอกและโท โดยก� ำหนดให้ใช้ค� ำที่ มีรูปวรรณยุกต์เอกหรือค� ำตาย (เรียกว่าค� ำเอก) ๗ ค� ำ และค� ำที่มีรูป วรรณยุกต์โท (เรียกว่าค� ำโท) ๔ ค� ำ ค� ำเอกจะอยู่ที่ค� ำที่ ๔ ของวรรคแรก ค� ำที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ ค� ำที่ ๑ ของวรรคที่ ๔ ค� ำที่ ๓ ของวรรคที่ ๕ ค� ำที่ ๒ ของวรรคที่ ๖ ค� ำที่ ๒ ของ วรรคที่ ๗ และค� ำที่ ๑ ของวรรคที่ ๘ ค� ำโทจะอยู่ที่ ค� ำที่ ๕ ของวรรค แรก ค� ำที่ ๒ ของวรรคที่ ๔ ค� ำที่ ๕ ของวรรคที่ ๗ และค� ำที่ ๒ ของวรรค ที่ ๘ ดังปรากฏในโคลงตัวอย่างดังนี้ ค� ำเอก ได้แก่ เล่า ย่อม ทั่ว พี่ ตื่น พี่ อย่า ค� ำโท ได้แก่ อ้าง หล้า อ้า ได้ บางครั้ง ค� ำเอกโทในวรรคที่ ๑ สามารถสลับต� ำแหน่งกันได้ ในกรณีที่หาค� ำเอก ค� ำโท มาใช้ไม่ได้ ก็อนุโลมให้ใช้ค� ำเอกโทษแทน ค� ำเอก และใช้ค� ำโทโทษแทนค� ำโทได้ แต่ไม่ใคร่นิยมใช้ รูปแบบค� ำประพันธ์ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 389 8/8/2557 BE 3:10 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=