สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

387 โคลงสองสุภาพอาจมีสัมผัสภายในวรรคที่เรียกว่าสัมผัสในซึ่งเป็น ได้ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ เพื่อเสริมให้โคลงไพเราะยิ่งขึ้น เช่น จ� ำ-ใจ-จร-จาก, อยู่-อย่า เอกโท โคลงสองสุภาพบังคับรูปวรรณยุกต์เอกและโท โดยก� ำหนดให้ใช้ค� ำ ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกหรือค� ำตาย (เรียกว่าค� ำเอก) ๓ ค� ำ และ ค� ำที่มีรูป วรรณยุกต์โท (เรียกว่าค� ำโท) ๓ ค� ำ ค� ำเอกอยู่ที่ค� ำที่ ๔ ของวรรคแรก ค� ำที่ ๒ ของวรรคที่ ๒ และค� ำที่ ๑ ของวรรคที่ ๓ ค� ำโทอยู่ที่ค� ำที่ ๕ ของวรรคแรก ค� ำที่ ๕ ของวรรคที่ ๒ และค� ำที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ ดังปรากฏในโคลงตัวอย่างดังนี้ ค� ำเอก ได้แก่ จาก แม่ ห่อน ค� ำโท ได้แก่ สร้อย ห้อย ช้า ในกรณีที่หาค� ำเอก ค� ำโท มาใช้ไม่ได้ ก็อนุโลมให้ใช้ค� ำเอกโทษแทน ค� ำเอก และใช้ค� ำโทโทษแทนค� ำโทได้ แต่ไม่ใคร่นิยมใช้ ค� ำเอกโทษ คือค� ำที่รูปวรรณยุกต์เดิมเป็นรูปโท แต่เปลี่ยนมาใช้รูป วรรณยุกต์เอกโดยคงเสียงวรรณยุกต์ให้เหมือนเดิม เช่น สู้ เขียนเป็น ซู่ ค� ำโทโทษ คือ ค� ำที่รูปวรรณยุกต์เดิมเป็นรูปเอก แต่เปลี่ยนมาใช้ รูปวรรณยุกต์โทโดยคงเสียงวรรณยุกต์ให้เหมือนเดิม เช่น ย่า เขียน เป็น หย้า รูปแบบค� ำประพันธ์ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 387 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=