สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
339 เนื้อหาอันเป็นการปลุกใจให้รักชาติดังกล่าวมานี้ น� ำเสนอผ่านการ ใช้ภาษาที่ไพเราะงดงามและทรงพลัง กวีทรงซ�้ ำค� ำส� ำคัญเพื่อย�้ ำเน้น ความหมาย คือ ค� ำว่า “เสีย” “สิ้น” และ “อยู่” ดังที่อธิบายข้างต้น นอกจากนั้นยังทรงเล่นสัมผัสพยัญชนะอย่างแพรวพราว เช่น ราน-รุก, ด้าว-แดน, จน-ใจ, หลั่ง-ไหล, เสีย-สละ-สิ้น, ชีพ-ชื่อ, ก้อง-เกียรติ, ยัง-อยู่-ยั้ง-ยืน-ยง, เหมือน-มอด-ม้วย-หมด และทรงเสริมความ ไพเราะด้วยการใช้ประโยคคู่ขนาน “หากสยาม...เราก็เหมือน...” เพื่อ สื่อความหมายเปรียบเทียบที่กินใจ ได้แก่ หากสยามยังอยู่ยั้ง ยืนยง เราก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤๅ เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทย ความหมายอันลึกซึ้งหนักแน่นและเสียงอันไพเราะของถ้อยค� ำที่ ประกอบกันขึ้นเป็นโคลงทั้ง ๒ บท ท� ำให้บทประพันธ์นี้กระทบใจผู้อ่าน และอยู่ในความทรงจ� ำของคนไทยจ� ำนวนมาก ใน พ.ศ. ๒๔๘๒ ผู้สร้าง ภาพยนตร์เรื่อง ค่ายบางระจัน ได้อัญเชิญโคลงพระราชนิพนธ์ ๒ บท ท้ายมาประกอบท� ำนองของนารถ ถาวรบุตร เพื่อเป็นเพลงประกอบ ภาพยนตร์ โดยสลับเอาบทที่ ๔ มาก่อนบทที่ ๓ เพลงสยามานุสสติ จึงเป็นเพลงปลุกใจที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดเพลงหนึ่งของไทยนับแต่เวลา นั้นเป็นต้นมา ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย สยามานุสสติ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 339 8/8/2557 BE 3:10 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=