สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

337 all we have and are ของรัดยาร์ด คิปลิง (Rudyard Kipling) ซึ่ง แต่งขึ้นเมื่อ ค.ศ. ๑๙๑๔ โคลงสยามานุสสติประกอบด้วยโคลงทั้งหมด ๔บท โคลงบทที่เป็น วรรคทองได้แก่โคลงบทที่ ๓ และ ๔ โคลงบทที่ ๑ และ ๒ มีเนื้อความว่า รักราช จงจิตน้อม ภักดี ท่านนา รักชาติ กอบกรณีย์ แน่วไว้ รักศาสน์ กอบบุญตรี สุจริต ถ้วนเทอญ รักศักดิ์ จงจิตให้ โลกซร้องสรรเสริญ ยามเดินยืนนั่งน้อม กะมล ร� ำลึกถึงเทศตน อยู่ยั้ง เปนรัฏฐะมณฑล ไทยอยู่ สราญฮา ควรถนอมแน่นตั้ง อยู่เพี้ยงอวสาน ความหมายของวรรคทอง วรรคทองทั้งสองบทกล่าวว่า หากมีผู้ใดมารุกรานผืนแผ่นดินไทย ชาวไทยจะต่อสู้อย่างสุดก� ำลัง ยอมสละเลือดเนื้อและชีวิตจนหมดสิ้น เพราะแม้ชีวิตจะสิ้นไป แต่ชื่อเสียงเกียรติยศอันดีงามที่ได้ปกป้องชาติ จะไม่สิ้นไปกับชีวิตด้วย หากประเทศสยามด� ำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ชาว ไทยก็จะยังมีชีวิตอยู่ได้แต่หากประเทศสยามถูกท� ำลายลงจนย่อยยับ ชาวไทยจะมีชีวิตอยู่ได้อย่างไร มีแต่จะสิ้นชีวิตไปด้วยกันทั้งหมดจนไม่ เหลือเผ่าพงศ์ของชาวไทยอีก ความดีเด่น ความดีเด่นของวรรคทองบทนี้อยู่ที่การปลุกใจและสร้างส� ำนึกรัก ชาติโดยชี้ให้เห็นความส� ำคัญของชาติในฐานะองค์รวมของร่างกายซึ่ง มีอวัยวะส� ำคัญต่าง ๆ ประกอบกันขึ้นเป็นชีวิต คนในชาติก็คืออวัยวะ ส� ำคัญส่วนหนึ่ง ถ้าสิ้นชาติคือร่างกายสูญสิ้นไปคนในชาติซึ่งเป็นอวัยวะ ส� ำคัญของร่างกายก็ย่อมพินาศตามไปด้วย ดังนั้นพระบาทสมเด็จ ใครรานใครรุกด้าว แดนไทย สยามานุสสติ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 337 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=