สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

333 การสร้ างจินตภาพของกระแสน�้ ำวนที่ไหลเชี่ยวกรากน่ า หวาดหวั่น และความพยายามอย่างยิ่งยวดของคนพายเรือ น� ำไป สู่โวหารเปรียบเทียบที่คมคาย นั่นคือการเปรียบเทียบว่า ถึงแม้ กระแสน�้ ำวนจะปั่นป่วนรุนแรงมากเพียงใด แต่ด้วยประสบการณ์ และความร่วมมือกันอย่างแข็งขันของคนพายเรือ ท� ำให้เรือสามารถ รอดพ้นอันตรายมาได้ แต่ใจที่เวียนวนอยู่ในความปรารถนาเรื่องรัก ใคร่อาลัยนั้น แม้จะใช้ความพยายามเท่าใดก็มิอาจถอนใจให้หลุด ได้ ถ้อยค� ำที่ร� ำพันนี้แสดงให้เห็นอารมณ์ความรู้สึกในใจของกวีที่ ปั่นปวนคลุ้มคลั่งด้วยความคิดถึง ความคลุ้มคลั่งดั่งกล่าวรุนแรง ยิ่งกว่ากระแสน�้ ำวนเสียอีก ถ้อยค� ำและความเปรียบที่กวีใช้ไม่ว่าจะเป็นกระแสน�้ ำวน ภาพ ของน�้ ำที่ไหลเป็นวงเหมือนกงเกวียน หรือการพายเรือฝ่ากระแสน�้ ำ อาจมีนัยสื่อถึงธรรมะในพุทธศาสนาด้วย “กระแสน�้ ำ” “น�้ ำวน” และ “กงเกวียน” ตามขนบวรรณคดีพุทธศาสนามักสื่อถึงวัฏสงสาร ที่เคลื่อนไปด้วยแรงของกิเลสและท� ำให้สรรพสัตว์ทั้งหลายหลง เวียนว่ายอยู่ ในขณะเดียวกัน “การพายเรือ” ก็สื่อถึงการต่อสู้กับ จิตใจตนเองเพื่อให้ข้ามพ้นวัฏสงสารนี้ การพรรณนาในวรรคทองบท นี้จึงสื่อความสะเทือนอารมณ์ของกวีที่ตระหนักชัดในสัจธรรมเหล่า นี้อย่างลึกซึ้ง แต่ก็รู้ว่าตนเองไม่สามารถปฏิบัติได้ จึงได้บรรยายว่า เรือสามารถรอดพ้นจากกระแสน�้ ำวนมาได้อย่างปลอดภัย แต่ใจ ของกวีนั้นกลับยังเวียนวนอยู่ในอ� ำนาจกิเลสคือความรักอย่างไม่ อาจเอาชนะได้ วรรคทองบทนี้จึงแสดงให้เห็นความสามารถของกวีที่พรรณนา ภาพของสายน�้ ำได้อย่างกระจ่างชัดสมจริงและทรงพลัง ท� ำให้เห็น อานุภาพของความรักที่สร้างความปั่นป่วนใจและความลุ่มหลงให้ แก่จิตใจมนุษย์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งยังแฝงนัยทางธรรมะ อย่างลึกซึ้งแยบคาย ดูน�้ ำวิ่งกลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกลอก นิราศภูเขาทอง �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 333 8/8/2557 BE 3:10 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=