สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
315 ของสุนทรภู่เปรียบได้กับกลิ่นสุคนธ์ที่มลายหายไปภายในเวลาอัน รวดเร็ว คือมีช่วงเวลาสั้นมาก กวีได้เน้นย�้ ำให้เห็นความรู้สึกสูญเสียจน หมดสิ้นทุกสิ่งทุกอย่าง ด้วยการซ�้ ำค� ำว่า “สิ้น” ถึง ๓ ครั้ง คือ “สิ้นแผ่น ดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์” การน� ำ “กลิ่นสุคนธ์” ซึ่งสร้างความสุข ความชื่นใจ แต่เป็นของที่ไม่ ถาวรยั่งยืน คงอยู่ได้ไม่นานมาสื่อถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย และเปรียบเทียบกับวาสนาอันรุ่งโรจน์ในอดีตของตน จึงเป็น กลวิธีที่แยบคายที่ท� ำให้เข้าใจความเป็นไปในชีวิตของกวีและสัมผัสได้ ถึงอารมณ์ความรู้สึกเศร้า โหยหาอาลัย และน้อยเนื้อต�่ ำใจในชะตาชีวิต ของสุนทรภู่ได้เป็นอย่างดี เคยหมอบใกล้ได้กลิ่นสุคนธ์ตลบ นิราศภูเขาทอง �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 315 8/8/2557 BE 3:10 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=