สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

241 ไม่เพียงแต่ฝ่ายหญิงเท่านั้นที่เห็นว่าค่านิยมเรื่องรักนวลสงวนตัว สร้างความล� ำบากให้แก่ตน ฝ่ายชายเองก็เห็นว่าค่านิยมดังกล่าวท� ำให้ ผู้ชายประสบความยุ่งยากในเรื่องของความรักเช่นกันและเป็นอุปสรรค ที่ท� ำให้การเลือกคู่ครองด้วยตนเองของหนุ่มสาวไม่สามารถกระท� ำได้ โดยง่าย อย่างไรก็ตาม เมื่อชายหนุ่มหญิงสาวได้สมหวังในความรักจึง ได้ประจักษ์ว่า ค่านิยมและกรอบเกณฑ์ทางสังคมนั้นมิได้เป็นเหตุให้ เกิดความรักหรือท� ำให้ความรักเพิ่มพูนมากยิ่งขึ้น หากแต่กลับเป็นสิ่ง ที่สร้างอุปสรรคและความยุ่งยากให้แก่คนที่มีความรักแทน ความยาก ล� ำบากในการปฏิบัติตนตามค่านิยมดังกล่าวนี้จึงเป็นสิ่งที่ “น่าขันนัก” วรรคทองบทนี้จึงมิได้เป็นเพียงการเล่นโวหารโต้ตอบระหว่างชาย และหญิงเท่านั้น หากแต่ยังมีค่านิยมทางสังคมเรื่องการรักนวลสงวน ตัวซึ่งยึดโยงอยู่กับประเพณีการคลุมถุงชน บทประพันธ์นี้จึงเป็นบท ยั่วล้อวิพากษ์สังคมไปในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตาม การจบบทร้อง ด้วยความสมหวังในความรักสื่อนัยว่า หากชายหญิง “ต่างสมัครจะรัก กัน” แล้ว ความรักก็จะช่วยให้เอาชนะและข้ามพ้นอุปสรรคซึ่งเป็น กรอบเกณฑ์อัน “น่าขัน” ดังกล่าวได้ เป็นผู้หญิงแท้จริงแสนล� ำบาก วิวาหพระสมุท �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 241 8/8/2557 BE 3:09 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=