สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
225 ต่อชาติบ้านเมือง ๓ ประการคือ ร่วมกันต่อสู้กับศัตรูที่มารุกรานด้วย ความเข้มแข็ง เมื่อปกป้องชาติให้รอดพ้นจากอันตรายและด� ำรงอยู่ต่อ ไปได้แล้ว ชาวไทยก็ต้องร่วมกันสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ชาติ และ เมื่อชาติมีความเจริญรุ่งเรืองแล้ว ก็ต้องร่วมกันค�้ ำจุนทั้งชาติและพระ ศาสนาให้เป็นปึกแผ่นยืนยงอยู่ได้ตลอดไปความส� ำเร็จในการประกอบ กิจส� ำคัญเหล่านี้จะน� ำเกียรติยศอันยิ่งใหญ่มาสู่บ้านเมือง เกียรติยศ อันยิ่งใหญ่นี้มาจากการสามารถเอาชนะศัตรูที่เหนือกว่าในทุก ๆ ด้าน การสามารถสร้างความเจริญให้แก่ชาติได้ทัดเทียมนานาอารยประเทศ และการสามารถค�้ ำจุนรักษาชาติและพระศาสนาให้ด� ำรงอยู่ได้อย่าง มั่นคงยาวนานโดยไม่ตกอยู่ในอ� ำนาจของชาติอื่น เกียรติยศนี้จะน� ำไป สู่การยอมรับนับถือและได้รับการชื่นชม ยกย่องจากชาติอื่น ๆ ซึ่งก็จะ ย้อนกลับมาเป็นเครื่องช่วยป้องกันชาติจากอันตรายได้อาจกล่าวได้ว่า บทกลอนตอนนี้คือการสรุป “สารส� ำคัญ” ของบทละครเรื่องพระร่วงได้ อย่างกระชับรัดกุมและทรงพลัง ในการโน้มน้าวใจของผู้อ่านให้เห็นคล้อยตาม พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้กลวิธีทางวรรณศิลป์อันหลากหลาย ได้แก่การสรรค� ำที่เรียบง่ายกระชับแต่มีน�้ ำเสียงหนักแน่นและกินความ หมายลึกซึ้ง ซึ่งจะช่วยปลุกใจให้ฮึกเหิมและปลุกเร้าให้เกิดการกระท� ำ เช่น การใช้ค� ำว่า “ตั้งมั่น” เพื่อสื่อนัยทั้งการร่วมแรงกันอย่างมั่นคง และ ความมุ่งมั่นในการร่วมกันปกป้องบ้านเมือง การใช้ค� ำว่า “แรง” ใน “ศัตรู ผู้มีแรง” เพื่อหมายถึงศัตรูที่มีทั้งก� ำลังพลมากมาย และมีฝีมือในการ รบ การใช้ค� ำว่า “ผลาญญาติ” เพื่อสื่อความหมายของการท� ำลายล้าง เผ่าพงศ์ไทยซึ่งล้วนเป็นญาติพี่น้องกันจนหมดสิ้นได้อย่างเห็นเป็นรูป- ธรรมด้วยค� ำเพียง ๒ ค� ำ การใช้ค� ำว่า “ร่วมชาติ” เพื่อสื่อนัยทั้งการอยู่ ร่วมบ้านเมืองกันและการเกิดมาร่วมเชื้อชาติเดียวกัน จึงเป็นเหตุผลอัน หนักแน่นที่จะร่วมใจกัน นอกจากใช้ค� ำที่มีน�้ ำเสียงหนักแน่นเพื่อสร้าง ความฮึกเหิมแล้ว ยังมีการใช้ค� ำที่มีน�้ ำเสียงแสดงการขอร้องให้ชาวไทย ร่วมมือกันด้วยเช่น “ขอแต่เพียงไทยเราอย่าผลาญญาติ” “จงพร้อมใจ พร้อมก� ำลังระวังเมือง” นอกจากนั้น กวียังทรงหลากค� ำหรือกลุ่มค� ำ ไทยรวมก� ำลังตั้งมั่น พระร่วง �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 225 8/8/2557 BE 3:09 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=