สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

223 ส� ำนวนแรกใช้ชื่อว่า “ขอมด� ำดิน” ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ เพื่อใช้แสดงในต� ำนานเสือป่า โดยทรงพระราชนิพนธ์เป็นเพียงโครงเรื่อง มิใช่เนื้อเรื่องสมบูรณ์ พระร่วงส� ำนวนที่ ๒ มีชื่อว่า “ขอมด� ำดิน” เช่น เดียวกับส� ำนวนแรก ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเป็นกลอนบทละครเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ เพื่อแสดงจุดก� ำเนิดของชาติไทยและความมานะพยายาม ของบรรพบุรุษไทยที่ร่วมกันสร้างชาติบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง เรื่องพระร่วงส� ำนวนที่ ๓ ใช้ชื่อเรื่องว่า “พระร่วง” ทรงพระราชนิพนธ์ ขึ้นโดยใช้โครงเรื่องเดิมแต่ปรับปรุงดัดแปลงให้มีลักษณะของบทละคร พูด พระร่วงส� ำนวนนี้เป็นที่รู้จักแพร่หลายกว่าส� ำนวนอื่น ดังปรากฏว่า วรรคทองจากเรื่องพระร่วงล้วนมาจากส� ำนวนนี้พระร่วงส� ำนวนสุดท้าย ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗ โดยทรงปรับปรุงมาจากส� ำนวนที่ ๓ ให้เป็นบทละครร้องเพื่อให้เข้ากับความนิยมละครร้องแบบโอเปร่า ของตะวันตกในขณะนั้น เนื้อหาของบทประพันธ์ บทละครเรื่องพระร่วงเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยโบราณ เมื่อ เมืองละโว้ (ปัจจุบันคือลพบุรี) ยังอยู่ในการปกครองของอาณาจักร ขอม จึงต้องน� ำน�้ ำศักดิ์สิทธิ์จากทะเลสาบชุบศรไปถวายเป็นเครื่อง บรรณาการแด่พระเจ้าแผ่นดินขอมทุก ๆ ๓ ปี วันหนึ่งเมื่อถึงก� ำหนดส่ง ส่วยน�้ ำ เมืองละโว้ประสบทุพภิกขภัยอย่างรุนแรง แต่ฝ่ายขอมก็ไม่ยอม ผ่อนผันก� ำหนดส่งส่วยให้ พระร่วงพ่อเมืองละโว้ผู้มีสติปัญญาเฉียบ แหลมจึงออกอุบายให้พวกขอมที่มาควบคุมการส่งส่วยน� ำน�้ ำบรรทุก กลับไปเองแทนที่ชาวละโว้จะเป็นฝ่ายน� ำไปส่งเหมือนเคย กษัตริย์ขอม ทราบความก็ ให้พญาเดโชน� ำทัพมาจับพระร่วงเพราะเห็นว่าเป็นผู้น� ำที่ เฉลียวฉลาดและราษฎรรักใคร่ อาจจะก่อกบฏขึ้นได้ในภายภาคหน้า เมื่อพระร่วงทราบข่าวก็เกรงว่ากองทัพขอมจะท� ำอันตรายชาวเมือง ละโว้ จึงเสียสละออกจากเมืองไปบวชที่สุโขทัยเพื่อขอมจะได้ตามไป จับตนแต่เพียงผู้เดียว ไม่รุกรานเมืองละโว้ให้ชาวเมืองเดือดร้อน เมื่อชาวละโว้ทราบว่าพระร่วงยอมเสียสละตนเพราะเห็นแก่ ประชาชน ก็เกิดความมานะ จึงร่วมกันวางอุบายโจมตีกองทัพขอมใน ไทยรวมก� ำลังตั้งมั่น พระร่วง �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 223 8/8/2557 BE 3:09 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=