สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
214 กวีวัจน์วรรณนา ที่มาของวรรคทอง เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ๑๗ ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง ได้นาง แก้วกิริยา ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ปี/สมัยที่แต่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประเภทของวรรณคดี ขุนช้างขุนแผนจัดเป็นวรรณคดีประเภทเสภา คือ วรรณคดีที่แต่ง ด้วยกลอนเสภา มีจุดประสงค์เพื่อใช้ขับเสภาซึ่งเป็นการขับที่มีจังหวะ และท� ำนองเฉพาะและมักใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ เนื้อหาของ เสภามีหลากหลาย เช่น นิทาน ต� ำนาน พงศาวดาร ค� ำสอน รูปแบบค� ำประพันธ์ กลอนเสภา วัตถุประสงค์/โอกาสในการแต่ง เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องที่นิยมน� ำมาเล่าและขับเป็นเสภา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีอยู่หลายส� ำนวน ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แต่งบทเสภาขุนช้างขุนแผนขึ้นใหม่หลายตอนพระองค์ทรงพระราช- นิพนธ์๔ ตอน และ พระราชทานตอนอื่น ๆ ให้เจ้านายและกวีราชส� ำนัก เช่น กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ สุนทรภู่ช่วยกันแต่ง บทเสภาที่แต่งขึ้น ใหม่นี้ใช้ขับถวายตอนทรงเครื่องใหญ่(ตัดผม) ท� ำให้เกิดธรรมเนียมขับ เสภาถวายขณะทรงเครื่องใหญ่ในรัชกาลต่อ ๆ มา ส่วนการแต่งบทเสภา ขุนช้างขุนแผนขึ้นใหม่มีต่อมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน “ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง ได้นางแก้ว กิริยา” อันเป็นที่มาของวรรคทองข้างต้นนี้ เป็นบทพระราชนิพนธ์ใน �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 214 8/8/2557 BE 3:09 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=