สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
184 กวีวัจน์วรรณนา ความหมายของวรรคทอง วรรคทองบทนี้มาจากบทเพลงที่โยฮันนิสและคอนสตันติโน๊สร้อง ร่วมกันเมื่อคิดวางอุบายอันแยบคายเพื่อให้ได้แต่งงานกับอันโดร- เมดา บทร้องมีเนื้อความว่า สุภาษิตโบราณสอนว่า การมีวาทศิลป์หรือ มีศิลปะในการใช้ค� ำพูดเป็นสิ่งส� ำคัญอันดับหนึ่งในการด� ำเนินชีวิตให้ ประสบความส� ำเร็จ ความรู้วิชาค� ำนวณส� ำคัญเป็นอันดับสอง สิ่งที่ ส� ำคัญอันดับสามคือการได้ศึกษาเล่าเรียนจนอ่านออกเขียนได้หรือ “รู้หนังสือ” สิ่งส� ำคัญทั้งสามนี้ เมื่อใช้ร่วมกับปัญญาความรู้ ก็จะท� ำให้ ปัญญาที่มีนั้นไม่สูญเปล่า ผู้ที่มีวิชาความรู้หรือมีความคิดอันแยบคาย แต่ไม่มีศิลปะในการพูด ก็จะประสบแต่อุปสรรคและความยากล� ำบาก ในชีวิต และความรู้ความคิดเหล่านั้นก็ล้วนเปล่าประโยชน์ ใช้การไม่ได้ ความดีเด่น วรรคทองบทนี้ให้คติเรื่องความส� ำคัญของการพูด โดยชี้ให้เห็น ว่าค� ำพูดของคนเราเป็นสิ่งส� ำคัญที่สุดที่จะท� ำให้มนุษย์เจริญรุ่งเรือง ประสบความส� ำเร็จ การรู้จักพูดมีความส� ำคัญมากกว่าความรู้ด้าน อื่น ๆที่คนทั่วไปเห็นว่าส� ำคัญกลวิธีทางวรรณศิลป์ที่กวีใช้สื่อความคิดนี้ คือการน� ำสุภาษิตโบราณว่า “ปากเป็นเอก เลขเป็นโท หนังสือเป็นตรี ชั่วดีเป็นตรา” มาขยายความให้เห็นเป็นรูปธรรมผ่านการแสดงผลเสีย ของการขาดปฏิภาณไหวพริบและศิลปะในการพูด บทประพันธ์ชี้ว่า แม้บุคคลจะมีวิชาความรู้มากมายเพียงใด หากไม่สามารถถ่ายทอด หรือแสดงความรู้นั้นออกมาให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ได้ ความรู้มากมาย เหล่านั้นก็ไม่ก่อประโยชน์แก่ผู้ใดรวมทั้งผู้พูดเองด้วย ทั้งยังอาจท� ำให้ ชีวิตมีแต่ความยากล� ำบาก การเลือกใช้กลุ่มค� ำที่แสดงให้เห็นความไร้ ค่าและเปล่าประโยชน์ของสติปัญญาที่ปราศจากวาทศิลป์ เช่น “เสีย หลาย” “ป่วยการ” “ล� ำบากตาย” ช่วยเน้นย�้ ำให้เห็นความเป็น “เอก” ของ “ปาก” ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น การหยิบยกค� ำโบราณที่เป็นที่รู้จักกันดีอยู่แล้วมาขยายความด้วย ถ้อยค� ำง่าย ๆ แต่ให้คติอันลึกซึ้งซึ่งคนทุกยุคทุกสมัยสามารถน� ำไป ประยุกต์ใช้เพื่อสร้างความสุขความเจริญให้แก่ชีวิต ท� ำให้กลอนบทนี้ �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 184 8/8/2557 BE 3:09 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=