สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
160 กวีวัจน์วรรณนา ที่มาของวรรคทอง บทละครพูดค� ำฉันท์เรื่องมัทนะพาธา ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปี/สมัยที่แต่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง มัทนะพาธาระหว่างวันที่ ๒ กันยายน-๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ รวม เวลาทั้งสิ้น ๑ เดือน ๑๗ วัน ประเภทของวรรณคดี มัทนะพาธาเป็นวรรณคดีประเภทบทละครพูดค� ำฉันท์คือบทละคร ที่แต่งด้วยฉันท์และกาพย์ชนิดต่าง ๆ มีบทเจรจาบางตอนแต่งเป็น ร้อยแก้วแทรกอยู่บ้าง รูปแบบค� ำประพันธ์ ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒ วัตถุประสงค์/โอกาสในการแต่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์มัทนะ- พาธาหรือต� ำนานแห่งดอกกุหลาบขณะทรงพระประชวร พระราช- ประสงค์ในชั้นแรกคือมุ่งหมายให้เป็นหนังสือกวีนิพนธ์ส� ำหรับอ่านเล่น ที่อธิบายก� ำเนิดของดอกกุหลาบเพื่อพระราชทานแก่สมเด็จพระนาง- เจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ต่อมามีผู้ขอพระราชทานพระบรม- ราชานุญาตน� ำมาจัดแสดงเป็นละครก็พระราชทานให้ นอกจากบท พระราชนิพนธ์ภาษาไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวยัง ทรงแปลบทละครเรื่องนี้ออกเป็นภาษาอังกฤษด้วย โดยทรงแปลเป็น ร้อยแก้วเสร็จบริบูรณ์เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ จากนั้นจึงทรง แปลมัทนะพาธาเป็นกลอนเปล่าแบบบทละครพูดของเชกสเปียร์ตามค� ำ กราบบังคมทูลแนะน� ำของพระวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร แต่ทรงพระราชนิพนธ์ถึงเพียงช่วงกลางขององก์ที่๔ ก็สวรรคตเสียก่อน �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 160 8/8/2557 BE 3:09 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=