สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

145 นอกจากความหมายอันลึกซึ้งคมคายดังกล่าวข้างต้นแล้ว วรรค ทองบทนี้ยังมีความไพเราะอ่อนหวานจากการใช้ค� ำ โดยเฉพาะค� ำที่ กวีเลือกใช้เรียกนางที่มีหลากหลายและล้วนสื่อนัยที่แสดงให้เห็นว่า พระอภัยมณีรักเทิดทูนและทะนุถนอมน�้ ำใจนางละเวงอย่างมาก เช่น “เนื้อเย็น” “ศรีสวัสดิ์” “ทรามสงวนนวลละออง” กวียังเล่นเสียงสัมผัส อันแพรวพราวในทุกวรรคทั้งสัมผัสสระ เช่น “ดิน-สิ้น” “ฟ้า-มหา (สมุทร)” “รัก-สมัคร” “ใน-ใต้” “หล้า-(สุ)ธา” และสัมผัสพยัญชนะ เช่น “สิ้น-สุด” “สมัคร-สมาน” “พบ-พาน-พิศ(วาส)” วรรคทองบท นี้จึงเป็นบทสัญญารักที่ทั้งละมุนละไม อ่อนหวาน และหนักแน่นมั่นคง งดงามด้วยโวหารแสดงความรักที่ซาบซึ้ง การใช้ถ้อยค� ำที่มีความหมาย และร้อยเรียงอย่างประณีตไพเราะ จึงเป็นบทที่ตรึงใจแก่ผู้อ่านทั่วไป จนมีผู้น� ำไปใส่ท� ำนองเป็นเพลง “ค� ำมั่นสัญญา” ท� ำให้วรรคทองนี้เป็น ที่รู้จักแพร่หลายและจดจ� ำได้มาจนทุกวันนี้ ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร พระอภัยมณี �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 145 8/8/2557 BE 3:09 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=