สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
4 กวีวัจน์วรรณนา ปางนี้มีผู้มัก คิดกลัว เห็นว่าชาติของตัว ต�่ ำต้อย จึ่งคอยแต่มุ่งมัว ยอมพ่าย เขานอ แล้วก็มานะน้อย ไม่กล้าแข่งขัน กลัวพรรณที่แผกแผ้ว กว่าตน หดหู่ในกะมล ไม่สู้ ลืมนึกว่าเปนคน เหมือนเช่น ตนเอง ลืมนึกว่าความรู้ อาจรู้ทันกัน ส� ำคัญอยู่แท้แต่ ธรรมะ พ่อเอย ผิวผ่องจิตโมหะ เกลือกกล�้ ำ ผิวพรรณใช่ว่าจะ ช่วยรอด กรรมนา จิตผ่องแต่ผิวคล�้ ำ ไป่แพ้ผิวงาม ความดีความชั่วไซร้ เปนตรา คนชั่วเปรื่องปัญญา ยิ่งผู้ ผลกรรมก็จักพา สู่ทุ- คติเอง คนโง่ความดีกู้ รอดพ้นภัยพาล เมื่อพิจารณาเนื้อหาของโคลงประกอบกับบริบทของยุคสมัยที่แต่ง โคลงบทนี้น่าจะมีนัยทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับลัทธิจักรวรรดินิยมใน สมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงน� ำมาอธิบาย ต่อโดยเน้นแนวคิดเกี่ยวกับชาติว่า ความเจริญสูงส่งของชาติใด ขึ้นกับ คุณธรรมความดีของคนในชาติ มิใช่สีผิวหรือวิชาความรู้ การที่โคลงพระราชนิพนธ์บทนี้ยังคงตราตรึงอยู่ในใจผู้อ่านสืบมาจนถึง ปัจจุบันแม้เวลาจะผ่านมากว่าร้อยปีแสดงให้เห็นว่าสาระส� ำคัญของโคลง มีความเป็นสากลที่อยู่เหนือกาลเวลา กล่าวคือ เป็นการแสดงทรรศนะ อันลึกซึ้งเกี่ยวกับแก่นแท้ของความเป็นมนุษย์ ดังพบว่า คนทั่วไปมัก พิจารณาผู้อื่นจากลักษณะที่ติดตัวมาแต่ก� ำเนิด เช่น รูปร่าง เพศ สีผิว �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 4 8/8/2557 BE 3:09 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=