สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
105 วรรคทองบทนี้ยังมีความดีเด่นในการสร้างความไพเราะด้วยการ เล่นเสียงสัมผัสใน ทั้งสัมผัสสระ เช่น “เถาวัลย์-พันเกี่ยว-เลี้ยวลด” และสัมผัสพยัญชนะ เช่น “แสนสุด” “ลึกล�้ ำ” “เลี้ยวลด” “หนึ่งใน” นอกจากนั้น กวียังใช้การซ�้ ำค� ำเช่น “ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน” “แม้น ใครรักรักมั่งชังชังตอบ” และ “รู้สิ่งไรไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอดเป็น ยอดดี”เพื่อเน้นความหมายของค� ำนั้นให้หนักแน่น และย�้ ำว่าเป็นสิ่งที่ พึงตระหนักและกระท� ำตาม ซึ่งเหมาะสมกับน�้ ำเสียงของวรรคทองบท นี้ที่มีลักษณะเป็นการสั่งสอน ด้วยเนื้อหาที่เป็นเอกภาพ การอธิบายที่เข้าใจง่ายและเห็นภาพ ชัดเจน รวมทั้งการน� ำเสนอคติค� ำสอนอันเป็นสัจธรรมแห่งชีวิต ท� ำให้ วรรคทองบทนี้เหมาะสมแก่ผู้อ่านทุกเพศทุกวัยและน� ำมาใช้ได้ทุกยุค ทุกสมัย แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ พระอภัยมณี �������������� 5 of 5_140809_CC.indd 105 8/8/2557 BE 3:09 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=