สำนักราชบัณฑิตยสภา
ราชบัณฑิตยสภา 75 ความเข้าใจเกี่ยวกับความฉลาดรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความฉลาดรู้มีทั้งหมด ๓ ระดับ ระดับแรก คือ traditional approach ความฉลาดรู้ที่เราสอนเด็กท� ำอะไรได้ สอนให้เด็กเป็นพลเมืองที่ดี สอนให้เด็กใช้ภาษาได้ดี อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และยังมีระดับที่ ๒ เรียกว่า social practice คือ ต้องเป็น new literacy study กลุ่มนี้พัฒนาขึ้นมา ในการเรียนการสอน การสร้างต� ำรา คนสร้างมักมีอะไรเกี่ยวโยงกับสังคมซ่อนอยู่เบื้องหลังเสมอ เพราะฉะนั้น การเรียนวิชาต่าง ๆ ต� ำราเอกสารต่าง ๆ ที่มาใช้ เบื้องหลังมีเหตุผลทั้งนั้น เราจึงต้องศึกษาให้เห็นถึงที่มาว่า เขามีเป้าหมายทางสังคมอย่างไร ระดับที่ ๓ คือ change leader การเรียนให้มีความเป็นผู้น� ำ เราต้องเรียนรู้ อย่างเข้าใจ สอนให้เห็นถึงบทบาทการสร้างบัณฑิต วิชาศึกษาศาสตร์ต้องสอนเด็กให้เรียนรู้ด้วยจิตส� ำนึก น� ำ การเปลี่ยนแปลงมาสู่สังคมให้ได้ ความฉลาดรู้ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร คือระดับนี้ยังมี ideological literacy คือความฉลาดรู้ที่มุ่งความเป็นผู้น� ำ ครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์เราต้องสอนให้เป็นผู้น� ำให้ได้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=