สำนักราชบัณฑิตยสภา

ราชบัณฑิตยสภา 32 จากนิยามของความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ตัดมาเพียงบางส่วนนี้ กลุ่มย่อหน้าแรกจะเป็นนิยาม จากนั้นจะเป็นส่วนขยายความว่ามีกี่ด้าน อะไรบ้าง เวลาทางปิซาประเมิน literacy ด้านนี้จะพิจารณา จากองค์ประกอบ ๔ องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านบริบทของวิทยาศาสตร์ ด้านสมรรถนะ ด้านความรู้ และด้านเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ ความฉลาดรู้ทาง วิทยาศาสตร์มีสมรรถนะที่ส� ำคัญ อยู่ ๓ ประการ คือ สามารถอธิบาย ปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ได้ ประเมินและออกแบบกระบวนการ ในการสืบเสาะหาความรู้ได้ และ แปลความหมายข้อมูลและประจักษ์ พยานอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ตัวนี้ ส� ำคัญที่สังคมไทยถูกหลอกงมงาย เป็นเพราะเชื่ออะไรง่าย ๆ ยังไม่ได้ วิเคราะห์ ว่ าประจักษ์พยานนั้น เพียงพอที่จะยอมรับหรือเชื่อสิ่งเหล่านั้นหรือไม่ เพราะฉะนั้น ประชาชนทุกคนจ� ำเป็นต้องมี literacy คือ ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อจะน� ำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุมีผล นอกจากนี้ หากผู้เรียนมีเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ (scientific attitudes) ซึ่งเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีความอยากรู้อยากเห็น ซื่อสัตย์ มุ่งมั่น รอบคอบ รับผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุผล จะช่วยให้ผู้เรียนมีความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ยิ่งขึ้น ส่วนความฉลาดรู้คณิตศาสตร์ คือ ความสามารถของบุคคลในการคิด ใช้ และตีความทางคณิตศาสตร์ การใช้ เหตุและผลอย่างเป็นคณิตศาสตร์ และมีกระบวนการอธิบาย บรรยาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ ขอบข่ายของความฉลาดรู้ทางคณิตศาสตร์จะมีทางด้านสถานการณ์หรือบริบท เนื้อหา และกระบวนการ เพราะฉะนั้น การสอนคณิตศาสตร์ไม่ใช่สอนแค่บวก ลบ คูณ หาร มาก ๆ อย่างรวดเร็วภายในเวลาจ� ำกัด นั่นไม่ใช่ literacy เป็นแต่เพียงทักษะ แต่ต้องสอนให้ได้กระบวนการและน� ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ� ำวัน ได้ถึงจะเป็น literacy ขอปิดท้ายด้วยความฉลาดรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม (environmental literacy) คือ ต้องมีความตระหนัก สามารถเรียนรู้ ท� ำความเข้าใจในบริบทและรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทั้งธรรมชาติ กายภาพ สังคม สามารถวิเคราะห์แปลความ ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ความฉลาดรู้ทางด้านสิ่งแวดล้อมนี้ มีอยู่ในส่วนที่เป็นทักษะทางกลุ่มของทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ภาพ rainbow ที่ก� ำหนดทักษะแห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ ได้ก� ำหนดความฉลาดรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมไว้ว่าจะต้องมีทางด้านความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=