สำนักราชบัณฑิตยสภา
ราชบัณฑิตยสภา 30 เรียนท่านประธาน ท่านราชบัณฑิต ท่านคณาจารย์ ท่านผู้บริหาร และผู้ร่วมประชุมสัมมนาทุกท่าน ค� ำเกี่ยวกับความฉลาดรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์นี้มีอยู่ใน พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ร่วมสมัย ชุดความฉลาดรู้ (literacy) ฉบับราชบัณฑิตยสภา ในกลุ่มนี้มีค� ำว่า scientific literacy และ mathematical literacy และมีค� ำที่เกี่ยวข้องในกลุ่ม เช่น scientific literacy มี scientific mind, attitudes towards science, scientific attitudes อันนี้ไม่ใช่ literacy แต่เกี่ยวข้องกับ scientific literacyนี้ ส่วนmathematical literacy, numerical literacy เป็นกลุ่มทางด้านคณิตศาสตร์ โปรแกรมการประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนระดับ นานาชาติหรือปิซา (Program for International Student Achievement– PISA) ประเมิน ๓ ตัวนี้ ทั้งทางด้าน scientific literacy, mathematical literacy, reading literacy ก็เป็นกลุ่มความฉลาดรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่าน ในกลุ่มนี้นอกเหนือจากค� ำทางด้าน scientific, mathematic, reading แล้วยังมีที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อีก เช่น energy literacy มีความส� ำคัญมากกับคนไทยในยุคปัจจุบันนี้ ค� ำที่เกี่ยวข้องอีก เช่น electronic literacy, geo-literacy, agricultural literacy, environmental literacy ก็จะมีอยู่ในเล่มนี้เช่นกัน ส่วนสูจิบัตรที่แจกให้ทุกท่านจะดึงมาเป็น บางค� ำให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อท� ำความเข้าใจ ความฉลาดรู้ทางวิทยาศาสตร์ส� ำคัญอย่างไร เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มีข่าวที่คิดว่าทุกคนคงเห็น คือการพบต้นตะเคียนที่จังหวัดพะเยา คนก็เอาแป้งไปโรย เอาผ้าสีไปผูก และไปถู ๆ เพื่อจะหาตัวเลข ในสังคม ไทยจะพบเหตุการณ์เช่นนี้มากมาย นอกจากไปดูต้นตะเคียน ก็คือต้องการหาเลขเด็ดเพื่อที่จะได้ร�่ ำรวย อย่างรวดเร็ว อย่างต้นตะเคียนคนไปเกิน ๑๐๐ คน อย่างไรก็ต้องมีคนถูกบ้างซึ่งก็เป็นไปตามหลักความน่าจะเป็น (probability) ส่วนข่าวเรื่องร่างทรงดาวพลูโตที่จังหวัดนครสวรรค์เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว คนก็มีความเชื่อ รองศาสตราจารย ดร.ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ การสร้างเสริมความฉลาดรู้แก่เยาวชนและพลเมืองไทย : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ในสังคมดิจิทัล เพื่อยกระดับคุณภาพและขจัดความเหลื่อมล�้ ำทางการศึกษา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=