สำนักราชบัณฑิตยสภา

ราชบัณฑิตยสภา 23 จึงเห็นได้ว่า การที่บุคคลมี K S A แล้วก็อาจยังไม่เกิดเป็นสมรรถนะจนกว่าจะมีการ Apply K S A เหล่านั้นมาสู่การใช้งาน การท� ำงาน และการใช้ชีวิตในสถานการณ์ต่าง ๆ จากภาพนี้เราจะเห็นได้ชัดเจนว่า ผู้เรียนที่มีความรู้แต่ไม่ได้ใช้ความรู้หรือไม่สามารถใช้ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ก็ยังไม่เกิดเป็นสมรรถนะ เช่นเดียวกันคนมีทักษะ แต่ไม่สามารถน� ำทักษะนั้นมาใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ก็ยังไม่ถือว่ามีสมรรถนะ และ ก็เช่นเดียวกันกับคนที่มีเจตคติหรือคุณลักษณะต่าง ๆ แต่ไม่น� ำมาใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตของตัวเอง ก็ถือว่ายังไม่มีสมรรถนะ พัฒนาได้ ไม่จ� ำเป็นต้องจ� ำกัดเฉพาะในวิชาภาษาไทย เช่นเดียวกับกระบวนการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ อาจารย์ สอนสังคมศึกษาก็สามารถก็ใช้กระบวนการ scientific inquiry ในการหาความรู้ได้ ค� ำว่า core competency ในภาษาไทยก็มีใช้หลายค� ำ เช่น สมรรถนะหลัก สมรรถนะแกน สมรรถนะกลาง ซึ่งในที่นี้ขอใช้ค� ำว่าสมรรถนะหลัก เป็นสมรรถนะที่จ� ำเป็นต่อเด็กและเยาวชนของเราหรือจ� ำเป็นต่อทุกคน เพราะเป็นเรื่องของการที่จะใช้ literacy ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นการใช้แก้ปัญหาหรือการเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=