สำนักราชบัณฑิตยสภา

ราชบัณฑิตยสภา 20 จากภาพจะเห็นว่า ส่วนวงกลมที่อยู่ตรงกลางนั้นคือส่วนของความรู้ ตัว K ตัว S ตัว A ที่สามารถน� ำมา ใช้ประโยชน์ในชีวิตได้จริง ซึ่งส่วนนี้เรียกว่า competency เพราะฉะนั้น competency จึงเป็นส่วนส� ำคัญ ของ literacy ถ้าเรียนรู้ literacy มากมายแต่ว่าไม่เกิด competency ในส่วนที่จ� ำเป็นต่อการน� ำมาใช้ใน การด� ำรงชีวิต การเรียนรู้นั้นก็อาจไม่ได้ช่วยให้เจริญได้เท่าใดนัก นี้เป็นการวิเคราะห์จากพระบรมราโชวาท แล้วเราจะพบว่าสิ่งที่ท่านได้ตรัสไว้ตรงกับความหมายของ literacy ในระดับสากล ยกตัวอย่างความฉลาดรู้ ทางคณิตศาสตร์ หรือ mathematic literacy ซึ่งในปัจจุบันทั่วโลกหันมาให้ความสนใจ ส่งเสริมให้ครูช่วยสอน numeracy ซึ่งเป็นส่วนที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง คือ The ability to use math in real life. เป็นความสามารถ ที่จะใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตจริง เช่น การน� ำคณิตศาสตร์มาใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจ� ำวัน แม้กระทั่งการท� ำอาหารก็ต้องใช้คณิตศาสตร์ หรือการอ่านตารางเวลาในการเดินทางก็ต้องใช้คณิตศาสตร์มาช่วย literacy ของ math ก็จะมีเรื่องมากมายที่เป็นความรอบรู้ในเรื่อง math นับตั้งแต่บวก ลบ คูณ หาร สมการ แคลคูลัส (calculus) สถิติขั้นสูง ความรอบรู้ในเรื่องต่าง ๆ นั้นเป็น literacy แต่ส่วนที่ส� ำคัญจ� ำเป็นที่เชื่อมโยง กับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ� ำวัน ส่วนนี้คือ competency เพราะฉะนั้น numeracy ก็คือ competency ของ mathematic ซึ่งจากภาพจะเห็นได้ว่า “Mathematic would be presented in contexts that make sense to the learner.” คือเป็นการน� ำ math มา present ในบริบทที่มีความหมายต่อผู้เรียน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=