สำนักราชบัณฑิตยสภา

ปัญหาบางประการในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 604 เจ้าของอาจอ้างว่า เครื่องหมายที่ที่น� ำไป จดทะเบียนอนุญาตให้บุคคลภายนอก ใช้สิทธินั้นเป็นเครื่องหมายการค้าทั้ง ๆ ที่มีลักษณะหรือรูปร่ างแบบเดียวกับ เครื่องหมายร่วมที่จดทะเบียนไว้แล้ว ก็ตาม ซึ่งไม่น่าจะถือได้ว่า การรับจด ทะเบียนในลักษณะดังกล่ าวเป็นการ ด� ำเนินการที่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ กฎหมายแต่อย่างใด ๓.๒ ก า ร บั ง คั บ ต า ม ค� ำ พิพากษาของศาล ในบางกรณี มีการใช้ทรัพย์สิน ทางปั ญญาในลักษณะที่ทับซ้ อนกับ กฎหมายอื่น ๆ เช่น กฎหมายเรื่องชื่อ ของบุคคล ตามมาตรา ๑๘ แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นต้น ซึ่งใน เรื่องนี้ กฎหมายได้วางหลักว่า เจ้าของ นามผู้เสื่อมเสียประโยชน์ จากการที่มี ผู้อื่นมาใช้นามเดียวกันโดยไม่มีอ� ำนาจ ตามกฎหมาย เจ้าของนามจะร้องขอต่อ ศาลให้สั่งห้ามการใช้นามนั้นก็ได้ ซึ่ง ศาลไทยได้ขยายความของนามของบุคคล ให้รวมไปถึงชื่อเครื่องหมายการค้าและชื่อ ทางการค้าด้วย โดยถือว่าเป็น “ค� ำเรียก ขาน” ถือเป็นชื่อบุคคลประเภทหนึ่ง กรณีดังกล่ าวเกิดขึ้นจากการที่ นิติบุคคลหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็น ห้างหุ้นส่วนจ� ำกัด หรือบริษัท ได้น� ำเอา เครื่องหมายการค้าที่มีชื่อเสียงแพร่หลาย ไปใช้ประกอบกับค� ำอื่น กลายเป็นชื่อ (๑) ผู้ยื่นค� ำขอและประสบความ ส� ำเร็จในการจดทะเบียนเครื่องหมายร่วม เกือบทั้งหมดเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัท จ� ำกัด โดยมีเพียง ๒๐ กว่ารายเท่านั้น และบางบริษัทอ้างเหตุผลในการเป็น “กลุ่มเดียวกัน” โดยเหตุที่มี “กรรมการ ร่วมกันเพียงหนึ่งคน” (๒) ผู้ ยื่นค� ำ ขอจดทะ เบียน เครื่องหมายร่วมบางราย ได้น� ำเครื่องหมาย เดียวกันนี้ไปจดทะเบียนเป็นเครื่องหมาย การค้ า ซึ่งเจ้ าหน้ าที่กรมทรัพย์ สิน ทางปัญญาได้รับจดทะเบียน และก� ำหนด ให้ เจ้ าของ เครื่องหมายการค้ าและ เครื่องหมายร่วมจดทะเบียนเครื่องหมาย ทั้งสองประเภทเป็ นเครื่องหมายชุด ดังนั้น เมื่อเจ้าของเครื่องหมายการค้า และเครื่องหมายร่วม ซึ่งจดทะเบียน เครื่องหมายชุดแล้ว มีความประสงค์ จะโอนเครื่องหมายทั้งสองประเภท จะต้อง โอนเครื่องหมายทั้งสองประเภทดังกล่าว นั้นไปพร้อมกัน จะโอนเฉพาะเครื่องหมาย ร่วม หรือเครื่องหมายการค้าแต่เพียง ประเภทเดียวไม่ได้ ๑๒ นอกจากนี้ ตามกฎหมายนั้น ได้ มีข้อจ� ำกัดไม่ให้น� ำเครื่องหมายร่วมไป อนุญาตให้บุคคลอื่นใช้ได้ แต่การน� ำ เครื่องหมายเดียวกันไปยื่นขอจดทะเบียน เพื่อให้เป็นทั้งเครื่องหมายการค้า และ เครื่องหมายร่วม ย่อมจะเห็นได้ว่ามีเจตนา หลีกเลี่ยงกฎหมายในเรื่องนี้ เนื่องจาก ส่วนที่ ๓ ปัญหาทางปฏิบัติที่เกิดจากตัว กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย ๓.๑ ความพยายามในการ บังคับใช้กฎหมายที่มีเนื้อหาไม่ชัดเจน กฎหมายทรัพย์ สินทางปัญญา บางฉบับ มีการบัญญัติศัพท์ซึ่งไม่ มี ความหมายอธิบายไว้ หรือมิได้มีการ ศึกษาวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของถ้อยค� ำ ในตัวบทกฎหมายว่ามีความหมายเช่นใด หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจ� ำเป็นจะต้อง บังคับใช้กฎหมายเท่าที่จะท� ำได้ จึงก่อ ให้เกิดความลักลั่นและก่อให้เกิดปัญหา ต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น “เครื่องหมายร่วม” ตามพระราช บัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้ให้ความหมายว่า เป็นเครื่องหมาย การค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้หรือ จะใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน และมาตรา ๙๔ ได้วางหลักต่อไปว่า ให้ น� ำหลักเกณฑ์ในเรื่องเครื่องหมายการค้า มาปรับใช้ทั้งหมด ยกเว้นการอนุญาตให้ ใช้แก่บุคคลอื่น ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ก า รที่มิได้ มีค� ำ จ� ำ กัดคว ามว่ า “กลุ่มเดียวกัน” มีความหมายเช่นใด จาก การตรวจสอบข้อมูลของผู้ยื่นค� ำขอจด ทะเบียนเครื่องหมายร่วมใน พ.ศ. ๒๕๕๐ พบประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้ ๑๒ มาตรา ๑๔ ในกรณีที่เครื่องหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนนั้น จะใช้ส� ำหรับสินค้าจ� ำพวกเดียวกัน หรือต่างจ� ำพวกกันที่นายทะเบียนเห็นว่า มีลักษณะอย่าง เดียวกันกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าอีกเครื่องหมายหนึ่งที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว หรือที่อยู่ในระหว่างการขอจดทะเบียนของเจ้าของเดียวกัน ถ้านายทะเบียนเห็นว่า เครื่องหมายการค้าเหล่านั้นเหมือนกัน หรือคล้ายกันจนถึงกับว่า ถ้าหากบุคคลอื่นจะเป็นผู้ใช้เครื่องหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนนั้นแล้ว ก็อาจจะเป็นการท� ำให้สาธารณชน สับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของของสินค้าหรือแหล่งก� ำเนิดของสินค้า ให้นายทะเบียนมีค� ำสั่งให้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเหล่านั้นเป็นเครื่องหมายชุด...”

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=