สำนักราชบัณฑิตยสภา
มาลิทัต พรหมทัตตเวที 589 วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ สภาพบ้านเมืองที่มีคูคลองระบายน�้ ำได้ สะดวกและวิถีชีวิตของผู้คนที่มักปลูก บ้านใต้ถุนสูง น�้ ำท่วมก็ยังอยู่ได้ การสัญจร ไปมาก็ใช้เรือพาย ท� ำให้ไม่ล� ำบากมากมาย อะไรนัก ในกรุงเทพฯ เกิดน�้ ำท่วมใหญ่ครั้ง ส� ำคัญมา ๓ ครั้ง คือเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ พ.ศ. ๒๕๒๖ และ พ.ศ. ๒๕๓๘ น�้ ำท่วม พ.ศ. ๒๔๘๕ นั้นเป็นผลสืบเนื่องมาจาก ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องท� ำให้ระดับน�้ ำ ในแม่น�้ ำเจ้าพระยาสูงมากจนไหลล้นคัน กันน�้ ำทั้ง ๒ ฝั่งแม่น�้ ำตลอดแนว ผู้เขียน เกิดไม่ทัน แต่ก็ได้เห็นจากภาพยนตร์ข่าว ที่แท้ ประกาศวุฒิสาร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. ๒๕๒๔ บันทึกไว้ว่า ผู้คนในกรุงเทพฯ สัญจรไปมา โดยการใช้เรือเป็นพาหนะ สถานที่ส� ำคัญๆ เช่น อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พระที่นั่ง อนันตสมาคม น�้ ำก็ท่วมจนสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรต้องนั่งเรือไปประชุมสภาฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งน�้ ำท่วมจากพายุ ที่พัดเข้ามาหลายลูกท� ำให้ฝนตกอย่าง หนักนั้น ผู้เขียนได้รับผลกระทบโดยตรง เพราะทั้งบ้านและที่ท� ำงานอยู่ ในเขต ตะวันออกของกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นที่ ๆ เขาผันน�้ ำจากกรุงเทพฯ ชั้นในไปกองไว้ จ� ำได้ว่าวันที่ ๒๘ กันยายนเป็นวันเกิด คณะมนุษยศ า สตร์ มหา วิทย า ลัย รามค� ำแหง ยังสนุกสนานกันอยู่เลย รุ่งขึ้น ไปท� ำ ง า นผู้ คนหน้ า มห า วิทย า ลั ย รามค� ำแหงเต็มไปหมด มองเข้ าไปดู ที่ไหนได้ มหาวิทยาลัยกลายเป็นทะเลสาบ ไปแล้ว ถนนรามค� ำแหงกลายเป็นคลอง เรือสุพรรณหงส์จ� ำลองที่อยู่ในสระน�้ ำ ของมหาวิทยาลัยโผล่ให้เห็นแค่หัวหงส์ ผู้เขียนลองลุยน�้ ำเข้าไปทางประตูหลัง มหาวิทยาลัยด้านหมู่บ้านเสรี ปรากฏว่า น�้ ำสูงถึงระดับสะโพก ปีนั้นมหาวิทยาลัย รามค� ำแหงปิดเพราะน�้ ำท่วม ๒ เดือนเต็ม ผู้เขียนไม่สบายเพราะลุยน�้ ำจนต้องเข้า โรงพยาบาลแต่ไม่ต้องลาป่วย มีเรื่องเล่า ครึกครื้นว่าผู้บริหารมหาวิทยาลัยเรือล่ม ตกน�้ ำบนถนนรามค� ำแหง ต้นมะม่วง หน้าคณะฯ ยืนต้นตายเพราะถูกเรือชน เป็นต้น ส่วนน�้ ำท่วม พ.ศ. ๒๕๓๘ นั้น ที่บ้านติดเกาะอยู่ ๑ สัปดาห์ เพราะรถเล็ก ลุยน�้ ำไม่ได้ ถนนพัฒนาการได้ชื่อใหม่ว่า ถนนด้อยพัฒนาการเพราะเต็มไปด้วย หลุมซึ่งมองไม่เห็น อันตรายมากเวลาขับ รถผ่าน น�้ ำเมื่อขังอยู่นานก็เริ่มเน่าเป็นที่ เพาะยุงอย่างดี ที่น่าสยดสยองคือเสาประตู บ้านที่เป็นสีขาวนั้นกลายเป็นสีด� ำสนิท เพราะยุงเป็นล้าน ๆ ตัวเกาะเต็มไปหมด น�้ ำท่วมปีนี้ไม่ใช่เฉพาะประเทศไทย เท่านั้นที่เดือดร้อน ประเทศเพื่อนบ้านเรา ก็เช่นกัน มากบ้างน้อยบ้าง ท� ำให้นึกถึง ต� ำนานเรื่อง น�้ ำท่วมโลก (Deluge) ซึ่ง เล่าถึงอุทกภัยครั้งใหญ่ที่น่าจะเคยเกิดขึ้น ในโลก ส่งผลให้อารยธรรมและผู้คน ล้มหายตายจากไปเกือบจะหมดโลก จน เป็นที่มาของต� ำนานของหลายชาติหลาย ภาษาที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปอย่างกว้าง ขวาง จะพบได้ในอินเดีย เอเชียอาคเนย์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นิวกินี หมู่เกาะ แปซิฟิก ในอเมริกาเหนือและใต้ เม็กซิโก และประเทศยุโรปอื่น ๆ เรื่องราวเหล่านี้ ๑ เออา (Ea): เทพแห่งน�้ ำและความฉลาด พร้อมด้วย เอนู (Anu) เทพแห่งสวรรค์ และ เอ็นลิล (Enlil) เทพแห่งอากาศหรือลม ประกอบเป็นไตรเทพของเมโสโปเตเมีย คล้ายคลึงกันในรูปแบบโดยทั่วไปซึ่ง เป็นการบันทึกเหตุการณ์ว่าได้เคยมีน�้ ำ ท่วมโลกครั้งใหญ่โดยพระเจ้าหรือเทพเจ้า เป็นผู้บันดาลให้เกิดขึ้น ส่วนใหญ่แล้ว ทั้งโลกจะถูกน�้ ำท่วม แต่ จะมีมนุษย์ ผู้หนึ่งกับครอบครัวของเขาพร้อมด้วย สัตว์จ� ำนวนหนึ่งที่รอดชีวิตได้เนื่องจาก ได้รับการเตือนล่วงหน้า ท� ำให้เขาสามารถ สร้างหรือจัดหาเรือหรือพาหนะที่จะพาให้ พ้นจากน�้ ำท่วมไปได้ หลังจากเวลาผ่าน พ้นไประยะหนึ่งความโกรธของพระเจ้า หรือเทพเจ้าก็บรรเทาเบาบางลง น�้ ำเริ่ม ลดและแผ่นดินจะปรากฏให้เห็นอีกครั้ง หนึ่ง มีมนุษย์และสัตว์สืบพืชพันธุ์ต่อไป รายละเอียดเท่านั้นที่จะแตกต่างกันไปใน แต่ละชาติ ต� ำนานเมโสโปเตเมีย ต� ำนานเก่ าแก่ เรื่องหนึ่งมาจาก เมโสโปเตเมีย โดยที่ บีโรซุส (Berosus) ผู้ เป็นชาวเมืองบาบิโลเนีย ได้ เขียน ประวัติศาสตร์ของชาติของตนเป็นภาษา กรีกเมื่อศตวรรษที่ ๓ ก่อนคริสตกาลว่า เออา (Ea) เทพแห่งน�้ ำและความฉลาด ๑ ได้ปรากฏตนต่อ ซิซุทรอส (Xisuthros) กษัตริย์องค์ที่ ๑๐ แห่งบาบิโลเนียในความ ฝัน และเตือนพระองค์ว่าจะมีน�้ ำท่วมใหญ่ ซึ่งจะท� ำลายล้างมนุษยชาติทั้งหมด แต่ ซิซุทรอสจะปลอดภัยหากพระองค์เชื่อฟัง ค� ำสั่ง ๒ ข้อของเทพเจ้า ข้อที่ ๑ จะต้อง เขียนประวัติของโลกตั้งแต่ต้นและน� ำไป ฝังไว้ที่ซิปปารา (Sippara) นครแห่งตะวัน ข้ อที่ ๒ คือต้ องต่ อเรือและน� ำสัตว์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=