สำนักราชบัณฑิตยสภา
น�้ ำท่วม ปัญหาโลกแตก The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 588 * บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส� ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ บทน� ำ ในประเทศไทยขณะนี้ไม่มีค� ำใด จะดึงดูดความสนใจของผู้ฟังได้เท่ากับ ค� ำว่า “น�้ ำท่วม” เวลาเจอหน้ากัน ค� ำทักทาย แทนที่จะเป็น “ไปไหนมา” “สบายดีหรือ” กลับถามกันว่า “ที่บ้านน�้ ำท่วมแล้วหรือ ยัง” เนื่องจากอุทกภัยที่คนไทยก� ำลัง เผชิญอยู่ นั้นใหญ่หลวงนักและก� ำลัง แผ่ขยายไปทั่วประเทศ ผู้ที่ได้รับผลกระทบ ก็เท่าเทียมกันไม่เลือกชั้นวรรณะ จะบ้าน ยาจกหรือเศรษฐีมีสิทธิ์ถูกน�้ ำท่วมได้ เหมือนกัน แต่ปีนี้ภาวะน�้ ำท่วมรุนแรงถึง ขั้นต้องมีการอพยพผู้คนออกจากพื้นที่ เสี่ยงอันตรายเป็นการโกลาหลเนื่องจาก น�้ ำมาเร็วและแรงมาก ส� ำหรับกรุงเทพฯ ซึ่งเคยมีคูคลองมากมายจนฝรั่งเรียกว่า “เวนิสตะวันออก” นั้น ปรกติน�้ ำจะไม่ท่วม นอกจากจะมีภาวะที่น�้ ำทั้ง ๓ ชนิด คือ “น�้ ำเหนือ” หลาก “น�้ ำทะเล” หนุน และ “น�้ ำฝน” กระหน�่ ำ เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ถึงท่วมก็ไม่ท่วมขังเป็นเวลานานเนื่องจาก มีการป้องกันเพื่อรักษาสถานที่ส� ำคัญทาง ราชการและเขตเศรษฐกิจ โดยใช้วิธีผันน�้ ำ จากกรุงเทพฯ ชั้นในออกไปรอบนอก ใน อดีต น�้ ำก็เคยท่วมกรุงเทพฯ มาแล้วหลาย ครั้งตั้งแต่สร้างเมืองมา ซึ่งเป็นธรรมดา ของเมืองที่ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น�้ ำ แต่ บทคัดย่อ อุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศไทยที่เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ท� ำความเสียหาย อย่างใหญ่หลวงทั้งทางด้านการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพราะน�้ ำท่วมครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ๒ ใน ๓ ของประเทศตั้งแต่ภาคเหนือจดใต้ สาเหตุของน�้ ำท่วมส่วนหนึ่งมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่อยู่ เหนือการควบคุมของมนุษย์ แต่การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบางครั้งก็เป็นผลมาจากการกระท� ำของมนุษย์ เช่น เทคโนโลยีสมัยใหม่ท� ำให้เกิดการท� ำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ เกิดภาวะเรือนกระจก ท� ำให้โลกร้อน น�้ ำแข็งขั้ว โลกละลาย เกิดน�้ ำท่วม ในประเทศไทยการตัดไม้ท� ำลายป่า การถางป่าเพื่อท� ำไร่เลื่อนลอยท� ำให้เกิดภูเขาหัวโล้น ไม่มีต้นไม้ไว้ปะทะการไหลของน�้ ำ ท� ำให้ดินถล่ม การถมคูคลองเพื่อสร้างถนน สิ่งก่อสร้างและโรงเรือนเป็นการ กีดขวางทางระบายน�้ ำออกสู่ทะเล ท� ำให้น�้ ำท่วมหนักและนาน เรื่องน�้ ำท่วมใหญ่ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นเรื่องที่มีมา ช้านานในต� ำนานของชาติต่าง ๆ ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ในแทบจะทุกมุมโลก เรื่องเหล่านี้มีทั้งความคล้ายคลึงกันใน ประเด็นส� ำคัญและความแตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย ในสมัยโบราณผู้คนมักตั้งถิ่นฐานอยู่ติดแม่น�้ ำหรือ ทะเลเพื่อความสะดวกในการคมนาคมและการค้าขาย เมื่อถึงหน้าน�้ ำก็เป็นธรรมดาที่น�้ ำจะหลากท่วมบ้านเรือนได้ ท� ำให้สันนิษฐานได้ว่า ครั้งหนึ่งน่าจะเกิดน�้ ำท่วมใหญ่ในระดับโลก ท� ำให้ผู้คนล้มตายแทบจะไม่เหลือสืบเผ่าพันธุ์ คนโบราณจึงคิดว่าน�้ ำท่วมโลกคือการที่พระเจ้าหรือเทพเจ้าลงโทษมนุษย์ซึ่งกระท� ำผิดบาป แต่เหตุที่ยังมีมนุษย์ สืบเผ่าพันธุ์ต่อมาก็เพราะยังมีคนดีเหลืออยู่ที่ปฏิบัติตามค� ำสั่งของพระเจ้าหรือเทพเจ้าท� ำให้รอดชีวิตได้ ค� ำส� ำคัญ : ต� ำนาน, น�้ ำท่วมโลก, โลกร้อน น�้ ำท่วม ปัญหาโลกแตก * มาลิทัต พรหมทัตตเวที ภาคีสมาชิก ส� ำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสถาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=