สำนักราชบัณฑิตยสภา

เอร็อสทรัต (Erostrate) : กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์ The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 578 ปอล อีลแบร์ เป็ นตัวละครที่ พยายามสร้างชื่อเสียงให้กับตนเอง แต่ วิธีการของเขาเป็นไปในทางท� ำลายเพื่อน มนุษย์ เขาเป็นตัวอย่างหนึ่งของตัวเอก ปฏิลักษณ์ซึ่งไม่ควรเป็นแบบอย่างที่จะ ด� ำเนินรอยตาม อย่างไรก็ตามวรรณกรรม เรื่องÉ Érostrate แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ ของฌ็อง-ปอล ซาทร์ ที่ใช้ วรรณคดี ท� ำหน้าที่สะท้อนภาพสังคม ดังที่เขาเคย ให้สัมภาษณ์แก่กาบรีแยล โดบาแรด ...ผมอมปลายกระบอกปืนไว้ในปาก และกัดมันอย่างแรง แต่ผมไม่กล้า เหนี่ยวไก ไม่กล้าแม้แต่จะเอานิ้วสอดเข้าไปในช่องไกปืน ทุกสิ่งตกอยู่ในความเงียบ อีกครั้งหนึ่ง แล้วผมก็โยนปืนลงและเปิดประตูให้พวกเขาเข้ามา (Sartre 2007: 99) ...ผมพยายามที่จะไม่ท� ำให้วรรณคดีสูญค่าหรือด้อยค่าลงในแง่พันธกิจ ที่มีต่อสังคม ในทางตรงกันข้าม ผมตั้งใจจะท� ำให้วรรณคดีมีความส� ำคัญยิ่งขึ้น มีความยิ่งใหญ่กว่าช่วงเวลาที่ผ่านมา ถ้าวรรณคดีเป็นเพียงสิ่งบันเทิง ก็จะมีคุณค่า ไม่ถึง ๑ ชั่วโมงด้วยซ�้ ำ เมื่อเราพิจารณาวรรณคดีในฐานะเป็นบ่อเกิดของมนุษย์ จะพบว่าวรรณคดีแสดงถึงความหวังและความเย้ยหยันทุกด้านของสังคม เป็น เสมือนภาพสะท้อนสังคม… (Gabriel d’Aubarède) ในวารสาร Les Nouvelles Littéraires ฉบับวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๕๑ ตอนหนึ่งว่า บรรณานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ วรรณกรรม อังกฤษ-ไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพ มหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๕) Jeanson, Francis. Sartre dans sa vie. Paris: Edition du Seuil; 1974. LAROUSSE TROIS VOLUMESEN COULEURS. Tome deux. Paris: Librairie Larousse, 1966. Les Nouvelles Littéraires. 1 février 1951. Molnar, T. Sartre, philosophe de la contestation. Paris: Le Prieuré, 1970. Sartre, Jean-Paul. Le mur. Paris: Gallimard, Collection Folio, 2007.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=