สำนักราชบัณฑิตยสภา

นววรรณ พันธุเมธา 559 วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ ค� ำว่า มละ ความหมายเหมือนกับ ค� ำ ละ ค� ำว่าเมลือง ความหมายเหมือนกับ ค� ำ เรือง อาจมีผู้คิดว่าเกิดจากการแผลงค� ำ ต� ำราไวยากรณ์ไทยบางเล่มก็กล่าวถึงการ แผลง ล เป็น มล ดังนี้ ๑๓. แผลง ล เป็น ล-บ, ล-ม, ม-ล เช่น ลัด เป็น ละบัด, โลภ เป็น ลโมภ ลาว เป็น มลาว, แล เป็น มแล, ลัก เป็น มลัก (วรเวทย์พิสิฐ, ๒๕๐๒ : ๒๙) อย่างไรก็ตาม มล อาจไม่ได้แผลง มาจาก ล และเดิมอาจจะออกเสียงควบกล�้ ำ เป็น มฺล ก็ได้ ทั้งนี้เพราะเสียง มฺล ยังมี ในภาษาไทยถิ่นบางภาษา เช่น ภาษาไทย ถิ่นใต้ ใน พจนานุกรมภาษาถิ่นใต้๒๕๒๕ มีค� ำที่พยัญชนะต้นเป็น มฺล อยู่ ๘ ค� ำ ได้แก่ ทุกพ้องพิรพ่าหเจ้า จอม เมลือง เลิศแฮ สรรพเครื่องสรรพาวุธ เลิศล้วน เกราะกรายส� ำลีเนือง นอกออก ไปแฮ ทวนธนูหน้าไม้ถ้วน หมู่หมาย ฯ (ลิลิตยวนพ่าย) อันว่าฟ้า แมลบเมลือง เนือง ก็อือบนนฦๅสยงสับท ประดับด้วยเมฆทลา เวหาเห็นกระช่าง แสงใสสว่างทุกทิศ โสดแล (มหาชาติค� ำหลวง) เมล็ด [ mlet 7 ] น. เมล็ด. ว. นิดเดียว. ค� ำนี้ แมล็ด, แม็ด ก็ว่า. เมล่อ [mlə: 6 ] ก. ทะลึ่ง, เสือก, ทะเล้น, ไม่ได้เรื่องได้ ราว,ไม่เข้าท่า ; เมร่อ ก็ว่า. เมละ [ mle: 6 ] น. 1. มะลิ 2. ลูกปลาตัวเล็กๆ น� ำมาใส่เกลือ 3. ลูกปลาตัวเล็ก เรียก “โลกเมละ”. เมลิน [ mlə : n 5 ] ก. ลืมตา. เมลิ่น [ mlə : n 6 ] ก. ลื่น ; เลิ่น ก็ว่า เมลือก [ mltak 6 ] น. น�้ ำเมือก ก. ค้อนควัก ; เหลือก (ช.พ., ร.น.) ก็ว่า. เมลือง [ mltay 5 ] ว. 1. งาม, เปล่งปลั่ง, รุ่งเรือง. 2. เป็นมันเลื่อม. เมลื่อย [ mltaj 6 ] ว. เมื่อย.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=