สำนักราชบัณฑิตยสภา
นววรรณ พันธุเมธา 555 วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๖ : ๒๘๙) อันที่จริง เสียง จฺร ไม่มีในภาษาไทย ๒) ค� ำที่มีอักษรควบไม่แท้ เราอาจแบ่งอักษรควบไม่แท้ได้ เป็น ๒ กลุ่มคือ ค� ำสันสกฤต ศฺรี ไทยเขียน ศรี ออกเสียง สี ” ศฺรทฺธา ” ศรัทธา ” สัด-ทา ค� ำเขมร สฺรง่ ” สรง ” สง ” สฺรวล ” สรวล ” สวน ค� ำที่เขียน ทร แล้วออกเสียง ซ นั้น น่าสังเกตว่า มักยืมจากภาษาเขมรหรือยืมภาษาบาลีสันสกฤตผ่านภาษา เขมร เขมรออกเสียง ตฺร แต่ไทยออกเสียง ซ เช่น ค� ำเขมร โทฺรม ออกเสียง โตฺรม ค� ำไทย โทรม ” โซม ค� ำเขมร ทฺรง่ ” ตฺร็วง ค� ำไทย ทรง ” ซง ค� ำเขมร ทฺรุฑ ” ตรุด ค� ำไทย ทรุด ” ซุด ค� ำเขมร ทฺรูง ” ตฺรูง (ข. โบ ทฺรฺวง) ค� ำไทย ทรวง ” ซวง ค� ำสันสกฤต ทฺรวฺย เขมรเขียน ทฺรพฺย ออกเสียง เตฺรือบ ไทยเขียน ทรัพย์ ออกเสียง ซับ สรวม = ขอ สวม = ครอบลงหรือคล้องหรือหุ้มไว้ เป็นต้น โทรม = เสื่อมสภาพ โซม = เปียกทั่ว เดิม โซรม = รุมกัน, ช่วยกัน ก. อักษรควบไม่แท้ที่ไม่ออก เสียง ร ออกเสียงแต่อักษรตัวหน้า เช่น จริง ไซร้ สร่าง เศร้า ไม่ออกเสียง ร ที่ ควบอยู่ด้วย ข. อักษรควบไม่แท้ ทร ที่ออก เสียง เป็น ซ เช่น ทรง ทราบ ทราม ทราย เรื่องยุ่ง ๆ ที่เกิดขึ้นก็คือ มีค� ำที่ออก เสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ความ หมายก็ต่างกัน ท� ำให้บางครั้งเกิดปัญหา ในการเขียน เช่น นอกจากนั้น ก็มีค� ำถามว่าท� ำไม ต้องมีอักษรควบไม่แท้ให้ยุ่งยาก ทั้ง ๆ ที่ ไม่ออกเสียง ค� ำตอบอาจเป็น ดังนี้ ๑. ไทยยืมค� ำที่มีอักษรควบไม่แท้ จากภาษาอื่น คนไทยออกเสียงอย่างไทย ๆ แต่ก็รักษารูปเขียนไว้ เช่น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=