สำนักราชบัณฑิตยสภา

536 กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ ำตาลอับปางในแม่น�้ ำเจ้าพระยา The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct.-Dec. 2011 แหล่ งน�้ ำบริเวณดังกล่ าวลดลงอย่ าง รวดเร็ว โดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ใน กลุ่มที่ใช้อากาศ แต่กระแสน�้ ำในแม่น�้ ำ เจ้าพระยาไหลจากทางเหนือลงมาทางใต้ ผ่านนนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการเพื่อออกสู่อ่าวไทย ขณะมวลน�้ ำเสียดังกล่าวเคลื่อนตัวลงมา ตามกระแสน�้ ำ กิจกรรมของจุลินทรีย์ เกิดขึ้นตลอดเวลา ส่ งผลให้ ระดับ ออกซิเจนละลายน�้ ำของแหล่งน�้ ำที่มวล น�้ ำเสียดังกล่าวเคลื่อนที่ผ่านลดลงส่งผล ให้สัตว์น�้ ำ โดยเฉพาะปลาทั้งปลาใน ธรรมชาติและปลาในกระชังตาย แนวทางการแก้ ไขปัญหาในส่วนของ มลพิษที่ปนเปื้อน และผลกระทบ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับปริมาณ ออกซิเจนละลายน�้ ำ เนื่องจากน�้ ำตาล ทรายแดงที่ปนเปื้อนในแม่น�้ ำดังกล่าว จ� ำนวน ๒,๔๐๐ ตัน หรือ ๒,๔๐๐,๐๐๐ กิโลกรัม ที่อยู่ในเรือบรรทุกน�้ ำตาลทราย แดงที่ล่มปนเปื้อนลงสู่แม่น�้ ำหมด ส่งผล ให้สารอินทรีย์ในแหล่งน�้ ำสูงขึ้นในรูป ของบีโอดีถึง ๒,๔๐๐,๐๐๐ กิโลกรัม แต่ จากรายงานข่าวแจ้งว่ามีการสูบน�้ ำตาล ทรายแดงบางส่วนขึ้นมาได้ ดังนั้นหาก น�้ ำตาลทรายแดงที่ละลายลงสู่ แม่น�้ ำ ประมาณร้อยละ ๕๐ ของทั้งหมด จะส่ง ผลให้ต้ องใช้ ออกซิเจนละลายน�้ ำใน ปริมาณสูงถึง ๑,๓๕๐ ตัน เพื่อให้ จุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์ แต่ใน สภาวะธรรมชาติ น�้ ำในแหล่งน�้ ำต่าง ๆ มีออกซิเจนละลายน�้ ำอยู่ เพียง ๓-๔ มิลลิกรัม/ลิตร ดังนั้นหากต้องการที่ จะให้จุลินทรีย์ในธรรมชาติย่อยสลาย แหล่งน�้ ำเนื่องจากแสงแดดส่องลงไป ไม่ถึง การที่น�้ ำตาลทรายแดงปนเปื้อน แม่ น�้ ำ เจ้ าพระย าส่ งผลให้ ปริมาณ ออกซิเจนในบริเวณดังกล่าวลดลง และ ยังส่งผลกระทบไปยังบริเวณข้างเคียง จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง นนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการ จนต้องประกาศเป็น เขตภัยพิบัติในพื้นที่นนทบุรีนั้นก็เพราะว่า เมื่อน�้ ำตาลทรายแดงละลายลงสู่แหล่ง น�้ ำจะส่งผลให้ออกซิเจนละลายน�้ ำใน อนึ่ง ออกซิเจนละลายน�้ ำที่ถูก เติมให้ กับแหล่ งน�้ ำส่ วนใหญ่มาจาก กระบวนการสังเคราะห์แสงและการ เติมออกซิ เจนให้ กับแหล่ งน�้ ำ โดย กระบวนการสังเคราะห์แสงนี้จะสูงหรือ ต�่ ำขึ้นอยู่กับปริมาณหรือการเจริญเติบโต ของสาหร่าย พืชน�้ ำ หรือจุลินทรีย์ที่ สังเคราะห์อาหารด้วยแสงได้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสาหร่าย การเจริญเติบโตของ สาหร่ายขึ้นอยู่กับปริมาณแสงที่ได้รับ ดังนั้นปริมาณออกซิเจนละลายน�้ ำของ แหล่งน�้ ำต�่ ำลงตามระดับความลึกของ ภาพที่ ๔ ซากปลาทับทิมในกระชังที่ตายจากน�้ ำเสีย [๑๐] ที่มา: http://www.siam fi s hing.comboardview.phptid=632963

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=