สำนักราชบัณฑิตยสภา

534 กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ ำตาลอับปางในแม่น�้ ำเจ้าพระยา The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct.-Dec. 2011 ๒-๓ วันจะท� ำการยึดพื้นที่ตลิ่งที่พังคืน มาได้ แต่เบื้องต้นได้ให้กรมเจ้าท่าเข้ามา ด� ำเนินการน� ำไม้มาปักท� ำเขื่อนกั้นไว้ก่อน (ภาพที่ ๓) ๒ ๓. เรื่องคุณภาพน�้ ำที่มีผลต่ อ สัตว์น�้ ำ จากการตรวจวัดผลค่าออกซิเจน ยังจุดที่ห่างออกไปประมาณ ๒๐ กิโลเมตร พบว่า ปลาธรรมชาติและปลาเลี้ยงใน กระชัง ตายหมด แต่ทั้งนี้จะสามารถแก้ไข ฟื้นฟูได้ และจะไม่กระทบเพิ่มขึ้นจาก เดิมหากด� ำเนินการแก้ ไขอย่ างถูกวิธี (ภาพที่ ๔) ๑๐ ผลกระทบจากเรือน�้ ำตาลทรายแดงล่ม ผลกระทบจากเรือบรรทุกน�้ ำตาล ทรายแดงล่มสามารถสรุปได้เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ขวางทางน�้ ำไหล เรือที่อับปาง ขวางทางกระแสน�้ ำ ท� ำให้เปลี่ยนทิศทาง กัดเซาะตลิ่งอย่างหนัก ส่งผลกระทบต่อ บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชนได้รับ ความเดือดร้อนอย่างหนัก (ภาพที่ ๒¬ ) ๒ และส่งผลให้การคมนาคมการสัญจรทาง น�้ ำได้ความเดือดร้อนเช่นกัน โดยเรือที่ ล่มขวางทางล่องน�้ ำการเดินเรือ ส่งผลให้ เรือขนส่งไม่สามารถใช้เส้นทางดังกล่าว ได้ (ภาพที่ ๑) ๒ ๒. สัตว์น�้ ำและปลาที่มีอยู่ ใน ธรรมชาติ และปลาในกระชังตายเป็น จ� ำนวนมาก โดยเฉพาะปลาหายากบาง ชนิด เช่น ปลากระเบนราหู การส� ำรวจ เบื้องต้นปลาเลี้ยงในกระชังจากจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เกษตรกรอ� ำเภอ บางปะอิน ได้รับความเสียหาย ๑๕ ราย จ� ำนวน ๑๙ กระชัง อ� ำเภอบางไทร ๗ ราย จ� ำนวน ๕๗ กระชัง ๑๑ ผลกระทบดังกล่าว ยังกระจายวงกว้างไปยังจังหวัดข้างเคียง ที่กระแสน�้ ำไหลผ่าน คือจากจังหวัด พระนครศรีอยุธยาไปยังจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี กรุง เทพมหานคร และ สมุทรปราการ (ภาพที่ ๔) ๑๐ ๓. ผ ล ก ร ะ ท บ กั บ ป ริ ม า ณ ออกซิเจนในน�้ ำ ผลกระทบที่เกิดจากการ ที่เรือบรรทุกน�้ ำตาลดังกล่าวล่มนั้น น�้ ำตาล ทรายแดง (Sucrose: C 12 H 22 O 11 ) ที่บรรทุก บางส่วนละลายน�้ ำ ส่งผลให้สารอินทรีย์ หรือบีโอดีในน�้ ำสูงขึ้น เป็นอาหารอย่างดี ส� ำหรับจุลินทรีย์ในกลุ่มที่พึ่งออกซิเจน ในแหล่งน�้ ำนั้นเจริญเติบโตเพิ่มจ� ำนวน โดยดึงเอาออกซิเจนที่ละลายในแหล่งน�้ ำ นั้นไปใช้ ดังสมการที่ ๑ น�้ ำตาลทรายแดง (ซูโครส) ๓๔๒ กรัม สามารถดึงออกซิเจน ละลายน�้ ำจากน�้ ำไปใช้ถึง๓๘๔กรัมดังนั้น หากคาดการณ์ว่ าน�้ ำตาลทรายแดงใน ปริมาณเพียงครึ่งหนึ่งของที่อยู่ในเรือล� ำ ที่ล่มดังกล่าวละลายลงสู่แม่น�้ ำ จะส่งผล ให้ปริมาณของน�้ ำตาลทรายแดงที่ละลาย ลงไปในแม่น�้ ำสูงถึง ๑,๒๐๐ ตัน ซึ่งต้อง ใช้ออกซิเจนละลายน�้ ำในการย่อยสลาย น�้ ำตาลทรายแดงปริมาณดังกล่ าวสูง ภาพที่ ๓ การสร้างเขื่อนชั่วคราวเพื่อป้องกันการพังทลายของตลิ่ง [๒] ที่มา: httpm://krobkruakao.comdetail.phpnews =39418

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=