สำนักราชบัณฑิตยสภา

สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต และสมชัย บวรกิตติ วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ 533 ภาพที่ ๒ การพังทลายของตลิ่งจากการเปลี่ยนทิศทางของกระแสน�้ ำ บริเวณที่เรือน�้ ำตาลล่ม [๒] ที่มา: httpm://krobkruakao.comdetail.phpnews =39418 ปรับปรุงคุณภาพน�้ ำบริเวณดังกล่าวที่ได้ รับผลกระทบจากน�้ ำเสียที่ไหลมาจาก จังหวัดพระนครศรีอยุธยาให้มีคุณภาพ ดีขึ้น โดยเครื่องกลเติมอากาศชนิดนี้ สามารถดึงน�้ ำเสียที่อยู่ก้นบ่อเข้าผสม กับอากาศและเกิดคลื่นน�้ ำ ท� ำให้น�้ ำไหล หมุนเวียน น�้ ำเสียจะผสมกับออกซิเจน ในอากาศซึ่งท� ำให้น�้ ำมีคุณภาพดีขึ้น ขณะเดียวกันผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี ได้ประกาศเขตพื้นที่อ� ำเภอเมืองฯ และ อ� ำเภอสามโคก เป็นเขตภัยพิบัติ เนื่องจาก น�้ ำเสียในแม่น�้ ำเจ้ าพระยาท� ำให้สัตว์ น�้ ำตายเป็นจ� ำนวนมาก ๖ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นายเสวก พวงทอง หัวหน้าชุดกู้เรือ เปิดเผยว่า หลังจากสูบน�้ ำตาลทรายแดง ออกจากเรือจนหมดแล้ว จะวางแผน เสริมบังใบที่กราบเรือให้สูงขึ้น จากนั้น จะท� ำการปะส่วนที่แตกเสียหาย ก่อน สูบน�้ ำออกจากตัวเรือ แต่ขณะนี้ยังไม่ สามารถด� ำเนินการได้เนื่องจากกระแสน�้ ำ ไหลเชี่ยว คาดว่าหากสามารถเสริมบัง ใบเรือได้จะใช้เวลาประมาณ ๕-๘ วัน จึงจะสามารถกู้เรือขึ้นมาได้ ๗ ส่วนการ กัดเซาะตลิ่งจากกระแสน�้ ำเปลี่ยนทิศทาง นั้น ตลิ่งถูกกัดเซาะลึกเข้าไปมากกว่า ๑ เมตร การป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง ด� ำเนินการโดยทหารและเจ้าหน้าที่หน่วย งานที่เกี่ยวข้อง โดยเร่งตอกเสาเข็มบริเวณ ริมตลิ่งใกล้กับจุดที่เรือพ่วงบรรทุกน�้ ำตาล ทรายแดงล่มเพื่อชะลอการกัดเซาะตลิ่ง อย่างไรก็ตามความพยายามในการกู้เรือ ในวันที่ ๕ ก็ยังไม่สามารถท� ำได้ เนื่องจาก มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับ น�้ ำที่ปล่อยออกมาจากเขื่อนเจ้าพระยา ท� ำให้ระดับน�้ ำเพิ่มสูง และไหลแรงมาก ขึ้น แต่หากฝนไม่ตกลงมาสมทบอีก คาดว่าเจ้าหน้าที่จะลงมือกู้เรืออีกครั้ง ภายในช่วงเย็นของวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยเจ้าหน้าที่ได้เตรียม เรือยนต์ที่ใช้กู้ไว้ประมาณ ๔-๕ ล� ำเพื่อ รอสภาพอากาศเอื้ออ� ำนวยก็จะสามารถ ลงมือกู้เรือที่ล่มได้ทันที ๘ ส� ำหรับการกู้ ซากเรือที่ด� ำเนินการตั้งแต่เบื้องต้นแบ่ง เป็น ๓ ส่วนดังนี้ ๙ ๑. ขนถ่ ายน�้ ำตาลทรายแดง ออกมาไว้ที่เรืออีกล� ำจนหมด และส่ง นักประดาน�้ ำลงไปตรวจสอบรอยรั่วของ เรือก่อนจะเคลื่อนย้าย และจะใช้โป๊ะท� ำ บอลลูนลอยเรือดังกล่าวขึ้นเพื่อสะดวก ในการลากจูงออกจากที่เกิดเหตุ แต่ เนื่องจากกระแสน�้ ำค่อนข้ างแรงเป็น อุปสรรคในการด� ำเนินงาน ในเบื้องต้น ได้ประสานกับกรมชลประทานเพื่อขอ ลดการปล่อยน�้ ำ ผลการด� ำเนินงานท� ำให้ สามารถเคลื่อนย้ายเรือดังกล่าวออกจาก ที่เกิดเหตุได้ส� ำเร็จเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ (ภาพที่ ๑) ๒ ๒. กรณีตลิ่งที่พัง ท� ำให้ประชาชน หวั่นเกรงอันตรายจากกระแสน�้ ำกัดเซาะ จนท� ำให้บ้านเรือนประชาชนเสียหาย ต้อง ย้ายหนีออกไปแล้วจ� ำนวน ๒ หลัง (ภาพที่ ๒) ๒ ระหว่างนี้ หากกระแสน�้ ำลดลง คาดว่า

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=