สำนักราชบัณฑิตยสภา

วรเดช จันทรศร วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔ 527 ต่อการเปลี่ยนแปลง และสามารถสนอง ตอบได้ต่อยุคโลกาภิวัตน์ ตามจุดหมาย ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนา ผู้บริหาร หน่วยงานภาครัฐควรมีการ ศึกษา และพัฒนาผู้บริหารในแต่ละระดับ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เอื้อต่อ การท� ำงาน เช่น การขาดมนุษยสัมพันธ์ กับเพื่อนร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา การมุ่งผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มมากกว่า ประโยชน์ขององค์การโดยส่วนรวม และเพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารเกิดความ ก้าวหน้า มีการใช้ดุลยพินิจที่รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ การรู้จักตนเอง ความจริงใจ การมีคุณธรรมในตัวเอง มีประสบการณ์ เชิงราชการและธุรกิจในต� ำแหน่งระดับสูง การมีความรับผิดชอบ กล้าท� ำในสิ่งที่ ถูกต้องที่เกิดประโยชน์ต่อประเทศและ ประชาชน ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นการน� ำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ใช้อย่างสมบูรณ์ โปรดพิจารณาแผนภาพที่ ๕ สรุป การน� ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามข้อ ๑-๔ มาปรับใช้ - ข้าราชการ/พนักงานมีทักษะและประสบการณ์ เพียงพอ - ลดความเสี่ยงและอันตรายในการปฏิบัติงาน - คุ้มครองสุขภาพ ความปลอดภัยทุกฝ่าย ความรอบคอบและความพอเพียง ในการฝึกอบรม ฝึกอบรมที่จ� ำเป็นตามความต้องการ พอประมาณ ไม่ฟุ่มเฟือย แต่ให้เกิดประโยชน์ สร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ให้ข้าราชการ/พนักงาน ได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง การพัฒนาผู้บริหารให้มีคุณธรรม ส่งเสริมความก้าวหน้า และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เอื้อต่อการท� ำงาน ภาพที่ ๕ การฝึกอบรมและพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อุตสาหะ มีสติปัญญา แบ่งปัน คุณลักษณะ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี จุดหมาย สมดุล ยั่งยืน พัฒนา/พร้อมต่อการ เปลี่ยนแปลง/ก้าวทันโลกาภิวัตน์ ๖. การรักษาและการใช้ประโยชน์จาก บุคลากร การรักษาบุคลากรที่ดีมีคุณค่าให้ อยู่ในหน่วยงานภาครัฐ ถือว่ามีความ ส� ำคัญยิ่ง เพราะยิ่งอยู่ได้นานมากเท่าไร องค์การก็จะสามารถได้ประโยชน์จาก บุคคลเหล่านั้นได้มากเท่านั้น ในทางกลับ กันถ้าบุคคลเหล่านั้นออกไปจากราชการ ก่อนเวลาอันควร ไปท� ำงานในภาคเอกชน หรือบริษัทต่างประเทศ ก็จะเป็นการสูญ เสียทรัพยากรที่มีคุณค่าไป ในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นยุคแห่ง ความรู้ บุคลากรที่มีคุณค่าซึ่งได้แก่ ผู้ที่มี ความรู้เฉพาะทาง ผู้เชี่ยวชาญด้านแผน กลยุทธ์ ทรัพยากรบุคคล กฎหมาย ตลอด จนผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับ กลางที่มีประสบการณ์ ยิ่งถือได้ว่าเป็นทุน ทางปัญญา (Intellectual capital) ของ องค์การ ซึ่งไม่สามารถจับต้องได้ แต่เป็น ปัจจัยที่อธิบายถึงระดับความสามารถใน การแข่งขันและศักยภาพของแต่ละหน่วย งาน การรักษาบุคลากรให้คงอยู่ได้ใน หน่วยงานภาครัฐได้มากและนาน ก็จะ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=