สำนักราชบัณฑิตยสภา
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง The Journal of the Royal lnstitute of Thailand Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011 626 ๔. การจัดท� ำตัวชี้วัดความส� ำเร็จ และความล้มเหลว ส� ำหรับการจัดท� ำ ตัวชี้วัดความส� ำเร็จและความล้มเหลว ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด นครราชสีมาตามแนวทางของหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งผลของ การวิจัยท� ำให้ เกิดประโยชน์ ในเชิง สาธารณะ เพราะจะท� ำให้ทราบถึงปัจจัย ที่ก่อให้เกิดความส� ำเร็จและความล้มเหลว ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด นครราชสีมา จ� ำนวน ๑๐ ปัจจัย ดังนี้ ๔.๑ นโยบายของภาครัฐ ส� ำหรับนโยบายของภาครัฐมีส่วนส� ำคัญ ในการกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวเชิง เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาภายใต้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๒ การประชาสัมพันธ์การ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ด้วยการผ่านสื่อ ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสื่อหลักของประเทศ เช่น วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หนังสือ พิมพ์ จดหมายข่าว อินเทอร์เน็ต และ เว็บไซต์ต่าง ๆ จะท� ำให้การท่องเที่ยว เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาขยายตัว ได้อย่างกว้างขวาง ๔.๓ แหล่ งท่ องเที่ยวใกล้ เคียงกัน โดยนักท่องเที่ยวสามารถเดินทาง ไปท่องเที่ยวในพื้นที่อื่น ๆ ได้ง่าย เพราะ มีสถานที่ท่องเที่ยวอยู่ใกล้ เคียงกันจะ ส่งผลให้การท่องเที่ยวในพื้นที่ประสบ ผลส� ำเร็จได้ ๔.๔ ร ะ ย ะ ท า ง ใ น ก า ร ท่องเที่ยว มีส่วนส� ำคัญถึงเหตุผลในการ ตัดสินใจในด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยเฉพาะถ้าแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อยู่ ใกล้ กับพื้นที่เขตตัวเมืองจังหวัด นครราชสีมาหรือใกล้กับกรุงเทพมหานคร ๔.๕ หน่ วยงานภาครัฐใน ท้องถิ่น มีส่วนส� ำคัญในการสนับสนุน และส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงเกษตรในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งจะท� ำให้แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรมี โอกาสที่จะประสบความส� ำเร็จได้ ๔.๖ สถาบันการศึกษา โดย สถาบันการศึกษามีส่วนร่วมในการสร้าง องค์ความรู้ให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยว เชิงเกษตร เพื่อน� ำไปพัฒนาพื้นที่ของ ตนเองจนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตรที่น่าสนใจ ๔.๗ ผู้ ปร ะ ก อบก า ร ก า ร ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ต้องมีบุคลิกภาพที่ดี ในการต้อนรับนักท่องเที่ยว รวมทั้งต้อง มีคุณธรรม จริยธรรม และอัธยาศัยที่ดี ต่อการให้บริการนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร ๔.๘ กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ก า ร ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผู้ประกอบการและ สมาชิกในกลุ่ มต้ องมีรูปแบบการจัด กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การแสดงหรือ สาธิตการเกษตร กิจกรรมที่จัดให้นักท่อง เที่ยวร่วมท� ำกิจกรรมระยะสั้น การให้นัก ท่องเที่ยวพักแรมในหมู่บ้าน การจ� ำหน่าย สินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตร ซึ่งจะท� ำให้ นักท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีความสุขและ ตื่นเต้ น แปลกใหม่ กับกิจกรรมการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ผู้ประกอบการจัด บริการให้แก่นักท่องเที่ยว ๔.๙ การสร้างค่านิยมให้กับ นักท่องเที่ยวเชิงเกษตร ด้วยการให้องค์ ความรู้และทัศนคติที่ดีถึงประโยชน์หรือ ข้อดีที่ได้รับจากการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑๐ ค่าใช้จ่ายในการท่อง เที่ยวเชิงเกษตร จะมีผลต่อการตัดสิน ใจของนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร ดังนั้น ผู้ประกอบการควรด� ำเนินการโดยใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความพอ ประมาณ มีเหตุผล สร้างภูมิคุ้มกัน และมี คุณธรรมต่อนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส� ำหรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ผู้วิจัยสรุปได้ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. นโยบายของภาครัฐ ภาครัฐ มีส่วนส� ำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการ ท่ องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่จังหวัด นครราชสีมา ท� ำให้ผู้ประกอบการหรือ เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้น ซึ่งการใช้ นโยบายของภาครัฐจะช่วยกระตุ้นความ เจริญเติบโตในกิจกรรมการท่องเที่ยว เชิงเกษตร จะท� ำให้การท่องเที่ยวเชิง เกษตรมีความเข้มแข็งและความยั่งยืน ตลอดไป ๒. หน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่น หน่วยงานในพื้นที่ของภาครัฐ เช่นองค์การ บริหารส่วนต� ำบล ส� ำนักงานเกษตรอ� ำเภอ ที่ท� ำการผู้ใหญ่บ้าน ที่ว่าการอ� ำเภอ มีส่วน ส� ำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมและมี บทบาทต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง เกษตรในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาเป็น อย่างยิ่ง ๓. รูปแบบของกิจกรรมกา ร ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผู้ประกอบการและ เกษตรกรควรมีรูปแบบของกิจกรรม การเกษตรกรรมที่หลากหลาย ขึ้นอยู่ กับวิถีการประกอบอาชีพของเกษตรกร และวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่งผู้ประกอบ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=